พบผลลัพธ์ทั้งหมด 366 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 310/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษคดีฝิ่นจากปริมาณและมูลค่าที่สูงขึ้น
ศาลชั้นต้นลงโทษคดีผิด พระราชบัญญัติฝิ่นถึงที่สุดไปแล้วต่อมาในคดีที่พวกของจำเลยถูกฟ้อง ศาลสูงลงโทษแรงกว่าเพราะฝิ่นมีปริมาณและมูลค่ามาก ก็ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 300/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักค่าใช้จ่ายทางภาษี: กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, ค่าใช้จ่ายสำนักงานต่างประเทศ, และเงินทดรองจ่าย
เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างจะได้รับยกเว้นให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (2) จะต้องเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายแก่ลูกจ้างโดยเด็ดขาดเท่านั้น เงินที่โจทก์จ่ายเข้าสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างโจทก์ทุกเดือน ลูกจ้างโจทก์จะได้รับก็ต่อเมื่อออกจากงานโดยไม่ผิดระเบียบเท่านั้น จึงถือไม่ได้ว่าขณะโจทก์จ่ายเงินเข้าสมทบกองทุนเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างโดยเด็ดขาดแล้ว เพราะเมื่อลูกจ้างไม่ออกจากงานก็ยังไม่มีโอกาสได้รับ ทั้งในกรณีที่ออกผิดระเบียบเงินส่วนที่โจทก์จ่ายสมทบลูกจ้างจะไม่ได้รับแต่จะกลับคืนมาเป็นของโจทก์อีก กรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ตรี (2) จึงต้องถือว่าเป็นเงินกองทุนที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
เงินที่โจทก์ส่งไปชำระให้สำนักงานใหญ่และสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าที่ทำการ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเครื่องเขียนเครื่องใช้ ค่าสึกหรอ เครื่องมือเครื่องใช้และอื่นๆ ตามที่โจทก์นำสืบ ล้วนแต่มีลักษณะเป็นรายจ่ายโดยเฉพาะของสำนักงานเหล่านั้นทั้งสิ้น แม้สำนักงานเหล่านั้นจะจ่ายโจทก์ในการติดต่อผู้จำหน่ายสินค้า ช่วยส่งเงินเมื่อมีผู้ชำระมาให้โจทก์ ช่วยหากิจการ และโจทก์สาขากรุงเทพฯ ต้องดำเนินงานตามคำสั่งของสำนักงานใหญ่ก็ตาม ไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทย โจทก์จึงจะนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (14)
โจทก์เป็นตัวแทนบริษัทเรือที่กรุงเทพฯ เมื่อเรือมาถึงโจทก์จะจ้างบริษัทรับจ้างเฝ้าเรือ โดยจ่ายค่าจ้างไปก่อน บริษัทเรือจะส่งเงินที่โจทก์จ่ายไปนั้นคืนให้โจทก์เป็นการจ่ายมีลักษณะเป็นเงินทดรอง หาใช่รายจ่ายของโจทก์เพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (13)
เงินจำนวนที่โจทก์ส่งไปยังสำนักงานใหญ่และสำนักงานสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของสำนักงานดังกล่าวซึ่งต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ เงินจำนวนนี้จึงเป็นรายได้ซึ่งจะต้องนำกลับเข้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จึงต้องถือว่าโจทก์ได้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ฉะนั้นโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 70 ทวิอีกส่วนหนึ่ง
เงินเพิ่มกรณีที่โจทก์จำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทย ประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ บัญญัติให้ผู้จำหน่ายต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ภายในกำหนด 7 วันนับแต่วันจำหน่าย เมื่อโจทก์ไม่เสียภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตราร้อยละ 20 แห่งเงินภาษีที่ต้องเสียตามประมวลรัษฎากร มาตรา 27 เงินเพิ่มนี้กำหนดไว้แน่นอนมิได้บัญญัติว่าเป็นข้อยกเว้นให้งดเก็บเสียได้และจะลดได้ก็ต้องเป็นไปตามมาตรา 27 (1), (2)
เงินที่โจทก์ส่งไปชำระให้สำนักงานใหญ่และสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าที่ทำการ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเครื่องเขียนเครื่องใช้ ค่าสึกหรอ เครื่องมือเครื่องใช้และอื่นๆ ตามที่โจทก์นำสืบ ล้วนแต่มีลักษณะเป็นรายจ่ายโดยเฉพาะของสำนักงานเหล่านั้นทั้งสิ้น แม้สำนักงานเหล่านั้นจะจ่ายโจทก์ในการติดต่อผู้จำหน่ายสินค้า ช่วยส่งเงินเมื่อมีผู้ชำระมาให้โจทก์ ช่วยหากิจการ และโจทก์สาขากรุงเทพฯ ต้องดำเนินงานตามคำสั่งของสำนักงานใหญ่ก็ตาม ไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทย โจทก์จึงจะนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (14)
โจทก์เป็นตัวแทนบริษัทเรือที่กรุงเทพฯ เมื่อเรือมาถึงโจทก์จะจ้างบริษัทรับจ้างเฝ้าเรือ โดยจ่ายค่าจ้างไปก่อน บริษัทเรือจะส่งเงินที่โจทก์จ่ายไปนั้นคืนให้โจทก์เป็นการจ่ายมีลักษณะเป็นเงินทดรอง หาใช่รายจ่ายของโจทก์เพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (13)
เงินจำนวนที่โจทก์ส่งไปยังสำนักงานใหญ่และสำนักงานสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของสำนักงานดังกล่าวซึ่งต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ เงินจำนวนนี้จึงเป็นรายได้ซึ่งจะต้องนำกลับเข้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จึงต้องถือว่าโจทก์ได้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย ฉะนั้นโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 70 ทวิอีกส่วนหนึ่ง
เงินเพิ่มกรณีที่โจทก์จำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทย ประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ บัญญัติให้ผู้จำหน่ายต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ภายในกำหนด 7 วันนับแต่วันจำหน่าย เมื่อโจทก์ไม่เสียภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตราร้อยละ 20 แห่งเงินภาษีที่ต้องเสียตามประมวลรัษฎากร มาตรา 27 เงินเพิ่มนี้กำหนดไว้แน่นอนมิได้บัญญัติว่าเป็นข้อยกเว้นให้งดเก็บเสียได้และจะลดได้ก็ต้องเป็นไปตามมาตรา 27 (1), (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 300/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักค่าใช้จ่ายทางภาษี: กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่าใช้จ่ายสำนักงานต่างประเทศ และเงินทดรองการเฝ้าเรือ
เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างจะได้รับยกเว้นให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(2) จะต้องเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายแก่ลูกจ้างโดยเด็ดขาดเท่านั้นเงินที่โจทก์จ่ายเข้าสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลูกจ้างโจทก์ทุกเดือนลูกจ้างโจทก์จะได้รับก็ต่อเมื่อออกจากงานโดยไม่ผิดระเบียบเท่านั้นจึงถือไม่ได้ว่าขณะโจทก์จ่ายเงินเข้าสมทบกองทุนเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างโดยเด็ดขาดแล้วเพราะเมื่อลูกจ้างไม่ออกจากงานก็ยังไม่มีโอกาสได้รับ ทั้งในกรณีที่ออกผิดระเบียบเงินส่วนที่โจทก์จ่ายสมทบลูกจ้างจะไม่ได้รับแต่จะกลับคืนมาเป็นของโจทก์อีก กรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(2) จึงต้องถือว่าเป็นเงินกองทุนที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
เงินที่โจทก์ส่งไปชำระให้สำนักงานใหญ่และสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าที่ทำการ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเครื่องเขียนเครื่องใช้ ค่าสึกหรอเครื่องมือเครื่องใช้และอื่น ๆ ตามที่โจทก์นำสืบ ล้วนแต่มีลักษณะเป็นรายจ่ายโดยเฉพาะของสำนักงานเหล่านั้นทั้งสิ้นแม้สำนักงานเหล่านั้นจะจ่ายโจทก์ในการติดต่อผู้จำหน่ายสินค้าช่วยส่งเงินเมื่อมีผู้ชำระมาให้โจทก์ ช่วยหากิจการ และโจทก์สาขากรุงเทพฯ ต้องดำเนินงานตามคำสั่งของสำนักงานใหญ่ก็ตาม ไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโจทก์จึงจะนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(14)
โจทก์เป็นตัวแทนบริษัทเรือที่กรุงเทพฯ เมื่อเรือมาถึงโจทก์จะจ้างบริษัทรับจ้างเฝ้าเรือ โดยจ่ายค่าจ้างไปก่อน บริษัทเรือจะส่งเงินที่โจทก์จ่ายไปนั้นคืนให้โจทก์เป็นการจ่ายมีลักษณะเป็นเงินทดรอง หาใช่รายจ่ายของโจทก์เพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(13)
เงินจำนวนที่โจทก์ส่งไปยังสำนักงานใหญ่และสำนักงานสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของสำนักงานดังกล่าวซึ่งต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเงินจำนวนนี้จึงเป็นรายได้ซึ่งจะต้องนำกลับเข้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจึงต้องถือว่าโจทก์ได้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทยฉะนั้นโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 70 ทวิอีกส่วนหนึ่ง
เงินเพิ่มกรณีที่โจทก์จำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทยประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ บัญญัติให้ผู้จำหน่ายต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ภายในกำหนด 7 วัน นับแต่วันจำหน่ายเมื่อโจทก์ไม่เสียภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตราร้อยละ 20 แห่งเงินภาษีที่ต้องเสียตามประมวลรัษฎากรมาตรา 27 เงินเพิ่มนี้กำหนดไว้แน่นอนมิได้บัญญัติว่าเป็นข้อยกเว้นให้งดเก็บเสียได้และจะลดได้ก็ต้องเป็นไปตามมาตรา 27(1)(2)
เงินที่โจทก์ส่งไปชำระให้สำนักงานใหญ่และสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเช่าที่ทำการ ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเครื่องเขียนเครื่องใช้ ค่าสึกหรอเครื่องมือเครื่องใช้และอื่น ๆ ตามที่โจทก์นำสืบ ล้วนแต่มีลักษณะเป็นรายจ่ายโดยเฉพาะของสำนักงานเหล่านั้นทั้งสิ้นแม้สำนักงานเหล่านั้นจะจ่ายโจทก์ในการติดต่อผู้จำหน่ายสินค้าช่วยส่งเงินเมื่อมีผู้ชำระมาให้โจทก์ ช่วยหากิจการ และโจทก์สาขากรุงเทพฯ ต้องดำเนินงานตามคำสั่งของสำนักงานใหญ่ก็ตาม ไม่ถือว่าเป็นรายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโจทก์จึงจะนำมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(14)
โจทก์เป็นตัวแทนบริษัทเรือที่กรุงเทพฯ เมื่อเรือมาถึงโจทก์จะจ้างบริษัทรับจ้างเฝ้าเรือ โดยจ่ายค่าจ้างไปก่อน บริษัทเรือจะส่งเงินที่โจทก์จ่ายไปนั้นคืนให้โจทก์เป็นการจ่ายมีลักษณะเป็นเงินทดรอง หาใช่รายจ่ายของโจทก์เพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะของโจทก์ไม่ โจทก์จึงจะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิมิได้เพราะเป็นการต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี(13)
เงินจำนวนที่โจทก์ส่งไปยังสำนักงานใหญ่และสำนักงานสาขาในต่างประเทศเพื่อเฉลี่ยค่าใช้จ่ายของสำนักงานดังกล่าวซึ่งต้องห้ามมิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเงินจำนวนนี้จึงเป็นรายได้ซึ่งจะต้องนำกลับเข้ามารวมคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจึงต้องถือว่าโจทก์ได้จำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทยฉะนั้นโจทก์จึงต้องเสียภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 70 ทวิอีกส่วนหนึ่ง
เงินเพิ่มกรณีที่โจทก์จำหน่ายกำไรออกจากประเทศไทยประมวลรัษฎากรมาตรา 70 ทวิ บัญญัติให้ผู้จำหน่ายต้องเสียภาษีเงินได้อัตราร้อยละ 15 ภายในกำหนด 7 วัน นับแต่วันจำหน่ายเมื่อโจทก์ไม่เสียภายในกำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตราร้อยละ 20 แห่งเงินภาษีที่ต้องเสียตามประมวลรัษฎากรมาตรา 27 เงินเพิ่มนี้กำหนดไว้แน่นอนมิได้บัญญัติว่าเป็นข้อยกเว้นให้งดเก็บเสียได้และจะลดได้ก็ต้องเป็นไปตามมาตรา 27(1)(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คสั่งจ่ายผู้ถือ โอนได้ด้วยการส่งมอบ ผู้รับโอนสุจริต แม้จำเลยอ้างประกันเช็คก็ยกข้อต่อสู้ไม่ได้
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 ได้ออกเช็คโดยประทับตราห้างจำเลยที่ 1 ให้แก่ น. น. โอนเช็คนี้ให้โจทก์ เช็คดังกล่าวเป็นเช็คสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือโอนกันได้เพียงด้วยการส่งมอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 918 ประกอบด้วยมาตรา 989 โจทก์จึงเป็นผู้ทรงโดยชอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 904 จำเลยที่ 2 เป็นผู้ลงลายมือชื่อเพียงแต่ประทับตราห้างจำเลยที่ 1ไว้ในเช็ค จึงต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 900, 901
แม้จำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ น.เพื่อเป็นประกันเช็คของบุคคลอื่น โดย น.รับรองกับจำเลยว่าจะไม่เอาเช็คไปใช้ จำเลยก็ไม่อาจยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 916
เช็คไม่ได้ลงวันที่ออกไว้ โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายกระทำโดยสุจริจจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989
แม้จำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ น.เพื่อเป็นประกันเช็คของบุคคลอื่น โดย น.รับรองกับจำเลยว่าจะไม่เอาเช็คไปใช้ จำเลยก็ไม่อาจยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 916
เช็คไม่ได้ลงวันที่ออกไว้ โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายกระทำโดยสุจริจจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คสั่งจ่ายผู้ถือ: การโอนเช็คโดยสุจริต และการลงวันที่เช็คโดยผู้ทรงโดยชอบ
จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 ได้ออกเช็คโดยประทับตราห้างจำเลยที่ 1 ให้ แก่ น. น. โอนเช็คนี้ให้โจทก์เช็คดังกล่าวเป็นเช็คสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือโอนกันได้เพียงด้วยการส่งมอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 918 ประกอบด้วยมาตรา989 โจทก์จึงเป็นผู้ทรงโดยชอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 904 จำเลยที่ 2 เป็นผู้ลงลายมือชื่อเพียงแต่ประทับตราห้างจำเลยที่ 1 ไว้ในเช็ค จึงต้องรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 900,901
แม้จำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ น. เพื่อเป็นประกันเช็คของบุคคลอื่น โดย น. รับรองกับจำเลยว่าจะไม่เอาเช็คไปใช้จำเลยก็ไม่อาจยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 916
เช็คไม่ได้ลงวันที่ออกไว้ โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายกระทำโดยสุจริตจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงลงก็ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989
แม้จำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ น. เพื่อเป็นประกันเช็คของบุคคลอื่น โดย น. รับรองกับจำเลยว่าจะไม่เอาเช็คไปใช้จำเลยก็ไม่อาจยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 916
เช็คไม่ได้ลงวันที่ออกไว้ โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายกระทำโดยสุจริตจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงลงก็ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 910 ประกอบมาตรา 989
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 263/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ที่ดินจากการครอบครองปรปักษ์ & การคุ้มครองสิทธิของผู้นำยึดทรัพย์
โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยซึ่งรวมทั้งที่พิพาทด้วยผู้ร้องยื่นคำร้องว่าที่พิพาทเป็นของผู้ร้องผู้ร้องได้เข้าครอบครองที่พิพาทตั้งแต่วันซื้อขาย โดยสงบเปิดเผย และด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันมาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว หากเป็นความจริงดังที่ผู้ร้องอ้างผู้ร้องก็ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 การที่จำเลยมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแต่ผู้เดียวเป็นแต่เพียงข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่า ผู้มีชื่อในโฉนดเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์และโจทก์ผู้นำยึดทรัพย์ไม่อยู่ในฐานะที่จะได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299วรรค 2 ศาลชั้นต้นควรที่จะฟังข้อเท็จจริงให้สิ้นกระแสความเสียก่อนไม่ชอบที่จะสั่งงดสืบพยานผู้ร้องและโจทก์แล้วพิพากษายกคำร้อง (อ้างฎีกาที่ 456-458/2491)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 263/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ที่ดินจากการครอบครองปรปักษ์และการบังคับคดี ศาลต้องฟังข้อเท็จจริงให้สิ้นกระแสความก่อน
โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยซึ่งรวมทั้งที่พิพาทด้วย ผู้ร้องยื่นคำร้องที่พิพาทเป็นของผู้ร้อง ผู้ร้องได้เข้าครอบครองที่พิพาทตั้งแต่วันซื้อขาย โดยสงบเปิดเผย และด้วยเจตนาเป็นเจ้าของติดต่อกันมาเป็นเวลาเกินกว่า 10 ปีแล้ว หากเป็นความจริงดังที่ผู้ร้องอ้าง ผู้ร้องก็ได้กรรมสิทธิ์ในที่พิพาทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 การที่จำเลยมีชื่อเป็นเจ้าของกรมสิทธิ์ที่พิพาทแต่ผู้เดียว เป็นแต่เพียงข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่า ผู้มีชื่อในโฉนดเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ และโจทก์ผู้นำยึดทรัพย์ไม่อยู่ในฐานะที่จะได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 วรรค 2 ศาลชั้นต้นควรที่จะฟังข้อเท็จจริงให้สิ้นกระแสความเสียก่อน ไม่ชอบที่จะสั่งงดสืบพยานผู้ร้องและโจทก์แล้วพิพากษายกคำร้อง (อ้างฎีกาที่ 456-458/2491)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 254/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังพยานหลักฐาน (สำเนาเอกสาร) และการละเมิดจากการเดินรถทับเส้นทางสัมปทาน กรณีอะลุ้มอะล่วยและคำสั่งทางปกครอง
จำเลยส่งเอกสารต่อศาลโดยไม่ส่งสำเนาให้โจทก์ ครั้นโจทก์คัดค้านว่าไม่ควรรับฟัง จำเลยแถลงว่าต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการจะได้หมายเรียกต้นฉบับมาแต่แล้วจำเลยก็มิได้ขอให้ศาลหมายเรียกมาเมื่อเอกสารที่จำเลยส่งศาลเป็นสำเนา ซึ่งไม่มีเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจรับรองว่าถูกต้องกับต้นฉบับ จึงรับฟังไม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93
จำเลยเดินรถรับส่งคนโดยสารเที่ยวกลับช่วงหนึ่งทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ เฉพาะทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 12 ถึง 19 น. ทั้งนี้ เนื่องจากตามวันเวลานั้นเจ้าพนักงานจราจรได้ออกประกาศให้รถเดินทางเดียวในถนนสายหนึ่งซึ่งอยู่ในเส้นทางสัมปทานของจำเลยเมื่อได้ความว่าในกรณีเช่นนี้ไม่มีข้อบังคับให้จำเลยต้องรายงานต่อกรมการขนส่งทางบกเพื่อประกาศเปลี่ยนเส้นทางให้ถูกต้องเสมอไป โดยหากไม่มีการโต้แย้งกันก็ไม่ต้องรายงานและจำเลยก็ได้เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์เพียง 1 กิโลเมตรเศษทั้งปรากฏว่าโจทก์เองก็ต้องเปลี่ยนไปเดินรถทับเส้นทางเดินรถของผู้อื่นโดยโจทก์ไม่ได้แจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบเช่นกันการเปลี่ยนเส้นทางเดินรถเอาเองในกรณีนี้จึงเป็นเรื่องอะลุ้มอะล่วยถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน จำเลยมิได้เจตนาจงใจเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์โดยพลการโจทก์เองก็เพิ่งร้องเรียนต่อกรมการขนส่งทางบกหลังจากจำเลยเดินรถทับเส้นทาง 3 ปีเศษแล้ว ดังนี้ จะถือว่าจำเลยเดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์ โดยฝ่าฝืนคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกหาได้ไม่ แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกได้สั่งให้จำเลยเปลี่ยนเส้นทางเดินรถใหม่ไม่ให้ทับเส้นทางของโจทก์ตามที่โจทก์ร้องเรียนแล้วจำเลยยังเดินรถตามเส้นทางเดิมต่อไปอีก แม้เพราะจำเลยอุทธรณ์คำสั่งต่อปลัดกระทรวงคมนาคมอยู่ก็ตามแต่เมื่อต่อมาปลัดกระทรวงคมนาคมได้สั่งให้จำเลยปฏิบัติตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกแล้วการกระทำของจำเลยก็เป็นละเมิดต่อโจทก์ ตั้งแต่วันรุ่งขึ้นจากวันจำเลยได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของกรมการขนส่งทางบก จนถึงวันสุดท้ายที่จำเลยเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ ตามจำนวนวันเสาร์ในระยะนั้น
จำเลยเดินรถรับส่งคนโดยสารเที่ยวกลับช่วงหนึ่งทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ เฉพาะทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 12 ถึง 19 น. ทั้งนี้ เนื่องจากตามวันเวลานั้นเจ้าพนักงานจราจรได้ออกประกาศให้รถเดินทางเดียวในถนนสายหนึ่งซึ่งอยู่ในเส้นทางสัมปทานของจำเลยเมื่อได้ความว่าในกรณีเช่นนี้ไม่มีข้อบังคับให้จำเลยต้องรายงานต่อกรมการขนส่งทางบกเพื่อประกาศเปลี่ยนเส้นทางให้ถูกต้องเสมอไป โดยหากไม่มีการโต้แย้งกันก็ไม่ต้องรายงานและจำเลยก็ได้เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์เพียง 1 กิโลเมตรเศษทั้งปรากฏว่าโจทก์เองก็ต้องเปลี่ยนไปเดินรถทับเส้นทางเดินรถของผู้อื่นโดยโจทก์ไม่ได้แจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบเช่นกันการเปลี่ยนเส้นทางเดินรถเอาเองในกรณีนี้จึงเป็นเรื่องอะลุ้มอะล่วยถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน จำเลยมิได้เจตนาจงใจเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์โดยพลการโจทก์เองก็เพิ่งร้องเรียนต่อกรมการขนส่งทางบกหลังจากจำเลยเดินรถทับเส้นทาง 3 ปีเศษแล้ว ดังนี้ จะถือว่าจำเลยเดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์ โดยฝ่าฝืนคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกหาได้ไม่ แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกได้สั่งให้จำเลยเปลี่ยนเส้นทางเดินรถใหม่ไม่ให้ทับเส้นทางของโจทก์ตามที่โจทก์ร้องเรียนแล้วจำเลยยังเดินรถตามเส้นทางเดิมต่อไปอีก แม้เพราะจำเลยอุทธรณ์คำสั่งต่อปลัดกระทรวงคมนาคมอยู่ก็ตามแต่เมื่อต่อมาปลัดกระทรวงคมนาคมได้สั่งให้จำเลยปฏิบัติตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกแล้วการกระทำของจำเลยก็เป็นละเมิดต่อโจทก์ ตั้งแต่วันรุ่งขึ้นจากวันจำเลยได้รับหนังสือแจ้งคำสั่งของกรมการขนส่งทางบก จนถึงวันสุดท้ายที่จำเลยเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ ตามจำนวนวันเสาร์ในระยะนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 254/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังพยานหลักฐาน (เอกสาร) และการประเมินความรับผิดทางละเมิดจากการเดินรถทับเส้นทางสัมปทาน
จำเลยส่งเอกสารต่อศาลโดยไม่ส่งสำเนาให้โจทก์ ครั้นโจทก์คัดค้านว่าไม่ควรรับฟัง จำเลยแถลงว่าต้นฉบับอยู่ในความครอบครองของทางราชการ จะได้หมายเรียกต้นฉบับมา แต่แล้วจำเลยก็มิได้ขอให้ศาลหมายเรียกมา เมื่อเอกสารที่จำเลยส่งศาลเป็นสำเนาซึ่งไม่มีเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจรับรองว่าถูกต้องกับต้นฉบับ จึงรับฟังไม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93
จำเลยเดินรถรับส่งคนโดยสารเที่ยกลับช่วงหนึ่งทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์เฉพาะทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 12 ถึง 19 น. ทั้งนี้ เนื่องจากตามวันเวลานั้นเจ้าพนักงานจราจรได้ออกประกาศให้รถเดินทางเดียวในถนนสายหนึ่งซึ่งอยู่ในเส้นทางสัมปทานของจำเลยเมื่อได้ความว่าในกรณีเช่นนี้ไม่มีข้อบังคับให้จำเลยต้องรายงานต่อกรมการขนส่งทางบกเพื่อประกาศเปลี่ยนเส้นทางให้ถูกต้องเสมอไป โดยหากไม่มีการโต้แย้งกันก็ไม่ต้องรายงาน และจำเลยก็ได้เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์เพียง 1 กิโลเมตรเศษ ทั้งปรากฏว่าโจทก์เองเปลี่ยนไปเดินรถทับเส้นทางเดินรถของผู้อื่น โดยโจทก์ไม่ได้แจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบเช่นกัน การเปลี่ยนเส้นทางเดินรถเอาเองในกรณีนี้จึงเป็นเรื่องอะลุ้มอล่วยถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน จำเลยมิได้เจตนาจงใจเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์โดยพลการโจทก์เองก็เพิ่งร้องเรียนต่อกรมการขนส่งทางบกหลังจากจำเลยเดินรถทับเส้นทาง 3 ปีเศษแล้ว ดังนี้ จะถือว่าจำเลยเดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์ โดยฝ่าฝืนคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกหาได้ไม่ แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกได้สั่งให้จำเลยเปลี่ยนเส้นทางเดินรถใหม่ไม่ให้ทับเส้นทางของโจทก์ตามที่โจทก์ร้องเรียนแล้ว จำเลยยังเดินรถตามเส้นทางเดิมต่อไปอีก แม้เพราะจำเลยอุทธรณ์คำสั่งต่อปลัดกระทรวงคมนาคมอยู่ก็ตาม แต่เมื่อต่อมาปลัดกระทรวงคมนาคมได้สั่งให้จำเลยปฏิบัติตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกแล้ว การกระทำของจำเลยขนส่งทางบก จนถึงวันสุดท้ายที่จำเลยเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ ตามจำนวนวันเสาร์ในระยะนั้น
จำเลยเดินรถรับส่งคนโดยสารเที่ยกลับช่วงหนึ่งทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์เฉพาะทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 12 ถึง 19 น. ทั้งนี้ เนื่องจากตามวันเวลานั้นเจ้าพนักงานจราจรได้ออกประกาศให้รถเดินทางเดียวในถนนสายหนึ่งซึ่งอยู่ในเส้นทางสัมปทานของจำเลยเมื่อได้ความว่าในกรณีเช่นนี้ไม่มีข้อบังคับให้จำเลยต้องรายงานต่อกรมการขนส่งทางบกเพื่อประกาศเปลี่ยนเส้นทางให้ถูกต้องเสมอไป โดยหากไม่มีการโต้แย้งกันก็ไม่ต้องรายงาน และจำเลยก็ได้เดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์เพียง 1 กิโลเมตรเศษ ทั้งปรากฏว่าโจทก์เองเปลี่ยนไปเดินรถทับเส้นทางเดินรถของผู้อื่น โดยโจทก์ไม่ได้แจ้งให้กรมการขนส่งทางบกทราบเช่นกัน การเปลี่ยนเส้นทางเดินรถเอาเองในกรณีนี้จึงเป็นเรื่องอะลุ้มอล่วยถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน จำเลยมิได้เจตนาจงใจเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์โดยพลการโจทก์เองก็เพิ่งร้องเรียนต่อกรมการขนส่งทางบกหลังจากจำเลยเดินรถทับเส้นทาง 3 ปีเศษแล้ว ดังนี้ จะถือว่าจำเลยเดินรถทับเส้นทางเดินรถของโจทก์ โดยฝ่าฝืนคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกหาได้ไม่ แต่เมื่อกรมการขนส่งทางบกได้สั่งให้จำเลยเปลี่ยนเส้นทางเดินรถใหม่ไม่ให้ทับเส้นทางของโจทก์ตามที่โจทก์ร้องเรียนแล้ว จำเลยยังเดินรถตามเส้นทางเดิมต่อไปอีก แม้เพราะจำเลยอุทธรณ์คำสั่งต่อปลัดกระทรวงคมนาคมอยู่ก็ตาม แต่เมื่อต่อมาปลัดกระทรวงคมนาคมได้สั่งให้จำเลยปฏิบัติตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบกแล้ว การกระทำของจำเลยขนส่งทางบก จนถึงวันสุดท้ายที่จำเลยเดินรถทับเส้นทางสัมปทานของโจทก์ ตามจำนวนวันเสาร์ในระยะนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 253/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมความในคดีอาญาฐานเปิดเผยความลับ ทำให้สิทธิฟ้องระงับ
ความผิดฐานเปิดเผยความลับซึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้เมื่อปรากฏว่าผู้เสียหายได้ตกลงยอมความกับจำเลยเป็นหนังสือไว้ในชั้นสอบสวน และในชั้นพิจารณาตัวผู้เสียหายเองก็เบิกความรับว่าได้ตกลงยอมความกับจำเลยจริง ดังนี้เป็นการยอมความกันโดยถูกต้องตามกฎหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2) แล้ว สิทธิของโจทก์ที่จะนำคดีอาญามาฟ้องจึงเป็นอันระงับไปศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้อง ศาลฎีกาเห็นพ้องด้วย