พบผลลัพธ์ทั้งหมด 340 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2172/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าของที่ดิน vs. คำสั่งอายัด: แม้มีคำพิพากษาค้างอยู่ เจ้าของที่ดินยังมีสิทธิคัดค้านการอายัดได้
ปัญหาที่ว่าผู้ร้องไม่ใช่เจ้าของที่ดิน ไม่มีอำนาจคัดค้านขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งอายัดที่ดินนั้น เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้โจทก์จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาในศาลอุทธรณ์ก็ตาม โจทก์ชอบที่จะยกขึ้นว่าในชั้นฎีกาได้
ที่ดินมีโฉนดมีชื่อผู้ร้องเป็นเจ้าของอยู่ในขณะที่โจทก์ยื่นคำร้องขอให้อายัด แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยว่าที่ดินนี้ยังคงเป็นของ ป. ตามผลของคำพิพากษาอีกคดีหนึ่งอยู่ก็ตาม ตราบใดยังไม่มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาคดีนั้น ผู้ร้องก็ยังมีสิทธิ์ในที่ดินนั้นอยู่ เมื่อสิทธิ์เช่นว่านี้ถูกโต้แย้งโดยการที่โจทก์ขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิ์ร้องขอให้เพิกถอนคำสั่งอายัดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
กรณีที่ศาลพิพากษาให้ ป. โอนขายที่ดินให้จำเลยนั้น จะถือว่าเป็นทรัพย์สินของบุคคลภายนอกซึ่งถึงกำหนดชำระแก่จำเลยยังไม่ได้ เพราะ ป. จะชำระหนี้ส่วนของตน คือโอนที่ดินให้จำเลยก็ต่อเมื่อจำเลยชำระหนี้ตอบแทนคือชำระราคาที่ดินให้ ป. ด้วย ฉะนั้น ตราบใดที่จำเลยยังมิได้เสนอที่จะชำระราคาที่ดินและกำหนดเวลาให้ ป. โอนที่ดินนั้นให้ตนแล้ว จะถือว่าหนี้ที่ ป. จะต้องโอนที่ดินให้จำเลยถึงกำหนดชำระยังมิได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 254(1)
ที่ดินมีโฉนดมีชื่อผู้ร้องเป็นเจ้าของอยู่ในขณะที่โจทก์ยื่นคำร้องขอให้อายัด แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยว่าที่ดินนี้ยังคงเป็นของ ป. ตามผลของคำพิพากษาอีกคดีหนึ่งอยู่ก็ตาม ตราบใดยังไม่มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาคดีนั้น ผู้ร้องก็ยังมีสิทธิ์ในที่ดินนั้นอยู่ เมื่อสิทธิ์เช่นว่านี้ถูกโต้แย้งโดยการที่โจทก์ขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิ์ร้องขอให้เพิกถอนคำสั่งอายัดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
กรณีที่ศาลพิพากษาให้ ป. โอนขายที่ดินให้จำเลยนั้น จะถือว่าเป็นทรัพย์สินของบุคคลภายนอกซึ่งถึงกำหนดชำระแก่จำเลยยังไม่ได้ เพราะ ป. จะชำระหนี้ส่วนของตน คือโอนที่ดินให้จำเลยก็ต่อเมื่อจำเลยชำระหนี้ตอบแทนคือชำระราคาที่ดินให้ ป. ด้วย ฉะนั้น ตราบใดที่จำเลยยังมิได้เสนอที่จะชำระราคาที่ดินและกำหนดเวลาให้ ป. โอนที่ดินนั้นให้ตนแล้ว จะถือว่าหนี้ที่ ป. จะต้องโอนที่ดินให้จำเลยถึงกำหนดชำระยังมิได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 254(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2172/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินของผู้ร้อง แม้มีคำพิพากษาค้างอยู่ ผู้ร้องยังมีสิทธิคัดค้านการอายัดได้ หากสิทธิถูกโต้แย้ง
ปัญหาที่ว่าผู้ร้องไม่ใช่เจ้าของที่ดิน ไม่มีอำนาจคัดค้านขอให้ศาลเพิกถอนคำสั่งอายัดที่ดินนั้น เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้โจทก์จะมิได้ยกขึ้นว่ากันมาในศาลอุทธรณ์ก็ตาม โจทก์ชอบที่จะยกขึ้นว่าในชั้นฎีกาได้
ที่ดินมีโฉนดมีชื่อผู้ร้องเป็นเจ้าของอยู่ในขณะที่โจทก์ยื่นคำร้องขอให้อายัดแม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยว่าที่ดินนี้ยังคงเป็นของ ป. ตามผลของคำพิพากษาอีกคดีหนึ่งอยู่ก็ตาม ตราบใดยังไม่มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาคดีนั้นผู้ร้องก็ยังมีสิทธิในที่ดินนั้นอยู่เมื่อสิทธิเช่นว่านี้ถูกโต้แย้งโดยการที่โจทก์ขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้เพิกถอนคำสั่งอายัดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
กรณีที่ศาลพิพากษาให้ ป. โอนขายที่ดินให้จำเลยนั้นจะถือว่าเป็นทรัพย์สินของบุคคลภายนอกซึ่งถึงกำหนดชำระแก่จำเลยยังไม่ได้ เพราะ ป. จะชำระหนี้ส่วนของตนคือโอนที่ดินให้จำเลยก็ต่อเมื่อจำเลยชำระหนี้ตอบแทนคือชำระราคาที่ดินให้ ป. ด้วย ฉะนั้นตราบใดที่จำเลยยังมิได้เสนอที่จะชำระราคาที่ดินและกำหนดเวลาให้ ป. โอนที่ดินนั้นให้ตนแล้ว จะถือว่าหนี้ที่ ป. จะต้องโอนที่ดินให้จำเลยถึงกำหนดชำระยังมิได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 254(1)
ที่ดินมีโฉนดมีชื่อผู้ร้องเป็นเจ้าของอยู่ในขณะที่โจทก์ยื่นคำร้องขอให้อายัดแม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยว่าที่ดินนี้ยังคงเป็นของ ป. ตามผลของคำพิพากษาอีกคดีหนึ่งอยู่ก็ตาม ตราบใดยังไม่มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาคดีนั้นผู้ร้องก็ยังมีสิทธิในที่ดินนั้นอยู่เมื่อสิทธิเช่นว่านี้ถูกโต้แย้งโดยการที่โจทก์ขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้เพิกถอนคำสั่งอายัดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
กรณีที่ศาลพิพากษาให้ ป. โอนขายที่ดินให้จำเลยนั้นจะถือว่าเป็นทรัพย์สินของบุคคลภายนอกซึ่งถึงกำหนดชำระแก่จำเลยยังไม่ได้ เพราะ ป. จะชำระหนี้ส่วนของตนคือโอนที่ดินให้จำเลยก็ต่อเมื่อจำเลยชำระหนี้ตอบแทนคือชำระราคาที่ดินให้ ป. ด้วย ฉะนั้นตราบใดที่จำเลยยังมิได้เสนอที่จะชำระราคาที่ดินและกำหนดเวลาให้ ป. โอนที่ดินนั้นให้ตนแล้ว จะถือว่าหนี้ที่ ป. จะต้องโอนที่ดินให้จำเลยถึงกำหนดชำระยังมิได้ โจทก์จึงไม่มีอำนาจขอให้อายัดที่ดินดังกล่าวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 254(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2171/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าจ้างทนาย: การตกลงค่าจ้างที่แน่นอน ไม่ถือเป็นการแบ่งทรัพย์สิน และอายุความ 2 ปีเริ่มนับเมื่อคดีถึงที่สุด
การเรียกค่าจ้างว่าความซึ่งกำหนดจำนวนเงินไว้แน่นอนนั้นหาใช่เป็นการแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่ลูกความไม่ ไม่เป็นโมฆะ และปัญหานี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ศาลอุทธรณ์จะมิได้วินิจฉัยให้ก็ตาม จำเลยชอบที่จะยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกาได้
สัญญาจ้างว่าความมีว่า จำเลยจะให้ค่าจ้างแก่โจทก์เมื่อคดีถึงที่สุดแล้วสิทธิเรียกร้องของโจทก์จึงอาจเริ่มบังคับได้เมื่อคดีถึงที่สุด
อายุความฟ้องเรียกเงินค่าจ้างว่าความมีกำหนด 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(15)
สัญญาจ้างว่าความมีว่า จำเลยจะให้ค่าจ้างแก่โจทก์เมื่อคดีถึงที่สุดแล้วสิทธิเรียกร้องของโจทก์จึงอาจเริ่มบังคับได้เมื่อคดีถึงที่สุด
อายุความฟ้องเรียกเงินค่าจ้างว่าความมีกำหนด 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(15)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2171/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าจ้างทนาย: การกำหนดจำนวนเงินแน่นอน ไม่ใช่การแบ่งทรัพย์สินจากลูกความ, อายุความ 2 ปีเริ่มนับเมื่อคดีถึงที่สุด
การเรียกค่าจ้างว่าความซึ่งกำหนดจำนวนเงินไว้แน่นอนนั้น หาใช่เป็นการแบ่งเอาส่วนจากทรัพย์สินที่เป็นมูลพิพาทอันจะพึงได้แก่ลูกความไม่ ไม่เป็นโมฆะ และปัญหานี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ศาลอุทธรณ์จะมิได้วินิจฉัยให้ก็ตาม จำเลยชอบที่จะยกขึ้นอ้างในชั้นฎีกาได้
สัญญาจ้างว่าความมีว่า จำเลยจะให้ค่าจ้างแก่โจทก์เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว สิทธิ์เรียกร้องของโจทก์จึงอาจเริ่มบังคับได้เมื่อคดีถึงที่สุด
อายุความฟ้องเรียกเงินค่าจ้างว่าความมีกำหนด 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(15)
สัญญาจ้างว่าความมีว่า จำเลยจะให้ค่าจ้างแก่โจทก์เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว สิทธิ์เรียกร้องของโจทก์จึงอาจเริ่มบังคับได้เมื่อคดีถึงที่สุด
อายุความฟ้องเรียกเงินค่าจ้างว่าความมีกำหนด 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(15)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2160/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ร่วมกระทำผิดลักทรัพย์: การไปกับคนร้ายและการวิ่งหนีถือเป็นหลักฐานแสดงเจตนา
การที่จำเลยไปกับคนร้ายที่ลงมือกระทำความผิดและเมื่อคนร้ายวิ่งหนีไป จำเลยก็วิ่งหนีไปด้วย ประกอบกับคำรับของจำเลยต่อหน้ากำนันในตอนจับกุมย่อมเป็นพฤติการณ์เพียงพอที่จะทำให้ฟังได้ว่าจำเลยได้ร่วมกระทำผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2160/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความร่วมมือในการกระทำความผิด: การไปกับคนร้ายและการวิ่งหนีเมื่อถูกจับกุมเป็นหลักฐานการร่วมกระทำผิดได้
การที่จำเลยไปกับคนร้ายที่ลงมือกระทำความผิดและเมื่อคนร้ายวิ่งหนีไปจำเลยก็วิ่งหนีไปด้วย ประกอบกับคำรับของจำเลยต่อหน้ากำนันในตอนจับกุม ย่อมเป็นพฤติการณ์เพียงพอที่จะทำให้ฟังได้ว่าจำเลยได้ร่วมกระทำผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2154/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำความผิดต่อเนื่อง: การกลุ้มรุมทำร้ายแล้วยิงไม่ถือเป็นการป้องกันตัว
จำเลยกับพวกอีกหนึ่งคนเข้ามากลุ้มรุมชกต่อยผู้เสียหายกับพวกที่ใต้ถุนเรือนแล้วออกวิ่งหนี ผู้เสียหายกับพวกไล่ตามไป จำเลยใช้ปืนยิงผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยไม่เป็นการป้องกัน เพราะจำเลยกับพวกเป็นฝ่ายก่อเรื่องก่อน การที่ผู้เสียหายกับพวกไล่ตามจำเลยไป แล้วจำเลยยิงผู้เสียหาย เป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องจากการกระทำผิดครั้งแรกของจำเลยกับพวกยังไม่ขาดตอน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2154/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยิงเพื่อป้องกันตัวที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากเป็นผู้ก่อเหตุทำร้ายร่างกายก่อน การกระทำต่อเนื่องเป็นเหตุผลลบล้าง
จำเลยกับพวกอีกคนหนึ่งเข้ามากลุ้มรุมชกต่อยผู้เสียหายกับพวกที่ใต้ถุนเรือนแล้วออกวิ่งหนี ผู้เสียหายกับพวกไล่ตามไป จำเลยใช้ปืนยิงผู้เสียหาย การกระทำของจำเลยไม่เป็นการป้องกัน เพราะจำเลยกับพวกเป็นฝ่ายก่อเรื่องก่อน การที่ผู้เสียหายกับพวกไล่ตามจำเลยไป แล้วจำเลยยิงผู้เสียหาย เป็นเหตุการณ์ที่ต่อเนื่องจากการกระทำผิดครั้งแรกของจำเลยกับพวกยังไม่ขาดตอน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2092/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุหย่า: คำพูดประชดประชัน, ทำร้ายร่างกายเล็กน้อย, ข่มขู่ไม่ร้ายแรง ไม่เป็นเหตุให้หย่า
คำกล่าวประชดประชัน ไม่ทำให้ผู้ใดเข้าใจผิด ไม่เป็นหมิ่นประมาทที่จะถือเป็นเหตุหย่า
บาดแผลชกต่อยเป็นรอยช้ำเลือดที่แขน 7 แห่ง เท่าลูกมะนาว 7 วันหาย ไม่ถึงอันตรายแก่กายตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ไม่เป็นเหตุหย่า
ขู่ว่าจะให้จิ๊กโก๋ลากตัวกลับบ้าน ไม่ถือเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยาอย่างร้ายแรง
บาดแผลชกต่อยเป็นรอยช้ำเลือดที่แขน 7 แห่ง เท่าลูกมะนาว 7 วันหาย ไม่ถึงอันตรายแก่กายตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ไม่เป็นเหตุหย่า
ขู่ว่าจะให้จิ๊กโก๋ลากตัวกลับบ้าน ไม่ถือเป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยาอย่างร้ายแรง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2041/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานปล้นทรัพย์ด้วยอาวุธปืนและการพกพาอาวุธปืน
ใช้อาวุธปืนขู่ปล้นทรัพย์ในเมือง เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340วรรคสองผู้พกปืนมีความผิดตาม มาตรา 371 ต่างกระทงกัน เฉพาะผู้ที่ใช้ปืนขู่รับโทษหนักขึ้นตามม.340 ตรี จาก มาตรา 340วรรคสองอีกด้วย