พบผลลัพธ์ทั้งหมด 700 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3382/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทางภารจำยอมโดยอายุความ: การใช้ทางต่อเนื่องโดยไม่โต้แย้งทำให้เกิดสิทธิทางภารจำยอม
ทางพิพาทใช้เพื่อประโยชน์ที่ดินของโจทก์มากกว่า 10 ปี โดยจำเลยไม่หวงห้าม เป็นภารจำยอมโดยอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3308/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความความผิดเช็ค: เริ่มนับเมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ไม่ใช่เมื่อนำเช็คไปขึ้นเงิน
โจทก์ร่วมมีเช็คของจำเลยในธนาคารเดียวกันซึ่งถึงกำหนดแล้วรวม 4 ฉบับได้นำเช็คไปขึ้นเงินในวันที่ 19 มีนาคม 2519 สองฉบับ ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ต่อมาโจทก์ร่วมได้นำเช็คอีก 2 ฉบับในคดีนี้ไปขึ้นเงินเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2519 เช่นนี้ ความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเกิดขึ้นเมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็ค เช็ค 4 ฉบับ ฉบับแยกการกระทำออกจากกันได้เป็น 4 กรรม จึงไม่จำเป็นต้องนำไปขึ้นเงินพร้อมกัน เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็ค 2 ฉบับ คดีนี้ในวันที่ 15 กรกฎาคม 2519 และโจทก์ร่วมร้องทุกข์ยังไม่เกิน 3 เดือน คดีจึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3308/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความความผิดเช็ค: เริ่มนับเมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ไม่ใช่เมื่อรู้ความผิด
โจทก์ร่วมมีเช็คของจำเลยในธนาคารเดียวกันซึ่งถึงกำหนดแล้วรวม 4 ฉบับ ได้นำเช็คไปขึ้นเงินในวันที่ 19 มีนาคม 2519 สองฉบับ ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ต่อมาโจทก์ร่วมได้นำเช็คอีก 2 ฉบับในคดีนี้ไปขึ้นเงินเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2519 เช่นนี้ความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเกิดขึ้นเมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็ค เช็ค 4 ฉบับแยกการกระทำออกจากกันได้เป็น 4 กรรม จึงไม่จำเป็นต้องนำไปขึ้นเงินพร้อมกัน เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่จ่ายเงินตามเช็ค 2 ฉบับคดีนี้ในวันที่ 15 กรกฎาคม 2519 และโจทก์ร่วมร้องทุกข์ยังไม่เกิน 3 เดือน คดีจึงไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3274/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายแร่โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย การครอบครองแร่เกินปริมาณที่กำหนด และข้อยกเว้นการครอบครองแร่ในสถานที่ซื้อขาย
กรณีจะปรับเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมแร่ดีบุกพ.ศ.2514 มาตรา 19,30 ข้อเท็จจริงจะต้องปรากฏชัดว่าผู้ขายแร่ เป็นผู้ทำเหมือง
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่จึงไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510มาตรา 105(6) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2516มาตรา 31
แร่ของกลางจำเลยได้มาโดยการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510 มาตรา 147,148 จึงต้องริบตามมาตรา154 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2516 มาตรา39
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่จึงไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510มาตรา 105(6) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2516มาตรา 31
แร่ของกลางจำเลยได้มาโดยการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510 มาตรา 147,148 จึงต้องริบตามมาตรา154 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2516 มาตรา39
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3274/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายแร่โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และข้อยกเว้นการมีแร่ไว้ในครอบครองเกินกำหนด
กรณีจะปรับเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมแร่ดีบุก พ.ศ. 2514 มาตรา 19,30 ข้อเท็จจริงจะต้องปรากฏชัดว่าผู้ขายแร่เป็นผู้ทำเหมือง
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่ จึงไม่ต้องฟ้องด้วยข้อยกเว้นตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 (6) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 31
แร่ของกลางจำเลยได้มาโดยการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 147,148 จึงต้องริบตามมาตรา 154 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 39
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่ จึงไม่ต้องฟ้องด้วยข้อยกเว้นตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 (6) พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 31
แร่ของกลางจำเลยได้มาโดยการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 147,148 จึงต้องริบตามมาตรา 154 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 39
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3273/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายแร่โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และการครอบครองแร่เกินปริมาณที่กำหนด
แร่ดีบุกของกลางไม่ปรากฏจำนวนตามบัญชีสต๊อก ไม่มีหลักฐานการซื้อมาในบัญชีซื้อแร่ ไม่มีเอกสารที่ผู้ขายมอบให้เพื่อแสดงว่าเป็นแร่ที่ผู้ขายมีอำนาจขายได้ตามที่กฎหมายบังคับ การซื้อแร่ของจำเลยเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 98 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 28 จำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 147
จำเลยมีแร่ไว้ครอบครองเกินสองกิโลกรัม จึงเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 31 อันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 148 ด้วย
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่และไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 31 (6)
จำเลยมีแร่ไว้ครอบครองเกินสองกิโลกรัม จึงเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 31 อันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 148 ด้วย
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่และไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 31 (6)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3273/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายแร่โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และการครอบครองแร่เกินปริมาณที่กำหนด
แร่ดีบุกของกลางไม่ปรากฏจำนวนตามบัญชีสต๊อก ไม่มีหลักฐานการซื้อมาในบัญชีซื้อแร่ ไม่มีเอกสารที่ผู้ขายมอบให้เพื่อแสดงว่าเป็นแร่ที่ผู้ขายมีอำนาจขายได้ตามที่กฎหมายบังคับ การซื้อแร่ของจำเลยเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 98พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 มาตรา 28 จำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 147
จำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองเกินสองกิโลกรัม จึงเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2516 มาตรา 31 อันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510มาตรา 148 ด้วย
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่และไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 31(6)
จำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองเกินสองกิโลกรัม จึงเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 105 พระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2516 มาตรา 31 อันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510มาตรา 148 ด้วย
การที่จำเลยซื้อแร่โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัติแร่ ย่อมถือไม่ได้ว่าจำเลยมีแร่ไว้ในครอบครองตามใบอนุญาตซื้อแร่และไม่เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 31(6)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3262/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้ออาวุธปืน การมีอาวุธปืน และการใช้อาวุธปืน เป็นความผิดกรรมเดียว
จำเลยซื้ออาวุธปืนก็เพื่อมีอาวุธปืนและใช้อาวุธปืนนั้น การมีอาวุธปืนและใช้อาวุธปืนจึงเป็นผลหรือการกระทำต่อเนื่องจากการซื้ออาวุธปืนอันเป็นเจตนาเดิม จำเลยจึงมีความผิดฐานซื้ออาวุธปืนโดยมิได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนท้องที่เพียงกรรมเดียว หาใช่เป็นความผิดแยกออกเป็น 3 กระทงไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3217/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันคำพิพากษาตามยอม: ไม่ขยายผลถึงบริวารจำเลย เว้นแต่คดีขับไล่
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยนำรถวิ่งรับคนโดยสารทับเส้นทางของโจทก์ขอให้บังคับจำเลยใช้ค่าเสียหาย และสั่งห้ามจำเลยและบริวารมิให้กระทำเช่นนั้น ซึ่งต่อมาโจทก์จำเลยได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันว่า จำเลยและบริวารจะไม่กระทำการดังกล่าว หากฝ่าฝืนจำเลยยอมชดใช้ค่าขาดประโยชน์แก่โจทก์ ศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอม ดังนี้ มิใช่คดีฟ้องเรียกอสังหาริมทรัพย์ประเภทฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142(1) อันจะใช้บังคับตลอดถึงบริวารของจำเลยด้วย คำพิพากษาตามยอมคดีนี้จึงมีผลผูกพันโจทก์และจำเลยซึ่งเป็นคู่ความตามมาตรา 145 เท่านั้น หามีผลบังคับถึงบริวารจำเลยไม่ แม้ผู้ร้องเป็นบริวารจำเลยปฏิบัติฝ่าฝืนสัญญาประนีประนอมยอมความ ก็ไม่อาจบังคับคดีเอากับผู้ร้องได้ จึงไม่อาจกักขังผู้ร้องไว้จนกว่าจะปฏิบัติตามคำพิพากษาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3217/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันของคำพิพากษาตามยอมต่อบริวารจำเลย: สัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันเฉพาะคู่ความเท่านั้น
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยนำรถวิ่งรับคนโดยสารทับเส้นทางของโจทก์ ขอให้บังคับจำเลยใช้ค่าเสียหาย และสั่งห้ามจำเลยและบริวารมิให้กระทำเช่นนั้น ซึ่งต่อมาโจทก์จำเลยได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันว่า จำเลยและบริวารจะไม่กระทำการดังกล่าว หากฝ่าฝืนจำเลยยอมชดใช้ค่าขาดประโยชน์แก่โจทก์ ศาลชั้นต้นพิพากษาตามยอม ดังนี้ มิใช่คดีฟ้องเรียกอสังหาริมทรัพย์ประเภทฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142 (1) อันจะใช้บังคับจลอดถึงบริวารจองจำเลยด้วย คำพิพากษาตามยอมคดีนี้จึงมีผลผูกพันโจทก์และจำเลยซึ่งเป็นคู่ความตามมาตรา 145 เท่านั้น หามีผลบังคับถึงบริวารจำเลยไม่ แม้ผู้ร้องเป็นบริวารจำเลยปฏิบัติฝ่าฝืนสัญญาประนีประนอมยอมความก็ไม่อาจบังคับคดีเอากับผู้ร้องได้ จึงไม่อาจกักขังผู้ร้องไว้จนกว่าจะปฏิบัติตามคำพิพากษาได้