พบผลลัพธ์ทั้งหมด 28 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 231-232/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกัน - การใช้สิทธิโดยไม่สุจริตของผู้รับประกัน - การถอนสัญญาค้ำประกัน
คำให้การของจำเลยที่ว่า หนังสือมอบอำนาจไม่สมบูรณ์ตามกฎหมายนั้น จำเลยไม่มีประเด็นนำสืบเพราะมิได้ให้การว่าไม่สมบูรณ์ตามกฎหมายด้วยเหตุอย่างไร
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การค้ำประกันหนี้ในอนาคตนั้น แม้ตามสัญญาค้ำประกันจะมีข้อความว่า การถอนสัญญาค้ำประกันต้องได้รับหนังสือยินยอมจากคณะกรรมการบริษัทโจทก์ก่อนก็ตาม แต่เมื่อผู้ค้ำประกันได้มีหนังสือบอกเลิกการค้ำประกันไปให้บริษัทโจทก์ทราบแล้ว แต่กรรมการผู้จัดการบริษัทโจทก์ก็ทิ้งเรื่องไว้ตั้ง 5 เดือน แล้วจึงเสนอประธานกรรมการบริษัทโจทก์ ระหว่างนั้นบริษัทโจทก์ก็ยังส่งข้าวสารไปยังลูกหนี้จนเกิดความเสียหายขึ้น แล้วจึงได้ให้ลูกหนี้ออกจากหน้าที่และแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรับผิดในความเสียหาย เช่นนี้ถือว่า บริษัทโจทก์ใช้สิทธิโดยไม่สุจริตทำให้ผู้ค้ำประกันได้รับความเสียหาย ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การค้ำประกันหนี้ในอนาคตนั้น แม้ตามสัญญาค้ำประกันจะมีข้อความว่า การถอนสัญญาค้ำประกันต้องได้รับหนังสือยินยอมจากคณะกรรมการบริษัทโจทก์ก่อนก็ตาม แต่เมื่อผู้ค้ำประกันได้มีหนังสือบอกเลิกการค้ำประกันไปให้บริษัทโจทก์ทราบแล้ว แต่กรรมการผู้จัดการบริษัทโจทก์ก็ทิ้งเรื่องไว้ตั้ง 5 เดือน แล้วจึงเสนอประธานกรรมการบริษัทโจทก์ ระหว่างนั้นบริษัทโจทก์ก็ยังส่งข้าวสารไปยังลูกหนี้จนเกิดความเสียหายขึ้น แล้วจึงได้ให้ลูกหนี้ออกจากหน้าที่และแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรับผิดในความเสียหาย เช่นนี้ถือว่า บริษัทโจทก์ใช้สิทธิโดยไม่สุจริตทำให้ผู้ค้ำประกันได้รับความเสียหาย ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 231-232/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกัน: สิทธิของผู้ค้ำประกันเมื่อเจ้าหนี้ใช้สิทธิโดยไม่สุจริต และประเด็นหนังสือมอบอำนาจ
คำให้การของจำเลยที่ว่า หนังสือมอบอำนาจไม่สมบูรณ์ตามกฎหมายนั้น จำเลยไม่มีประเด็นนำสืบ เพราะมิได้ให้การว่าไม่สมบูรณ์ตามกฎหมายด้วยเหตุอย่างไร
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การค้ำประกันหนี้ในอนาคตนั้น แม้ตามสัญญาค้ำประกันจะมีข้อความว่า การถอนสัญญาค้ำประกันต้องได้รับหนังสือยินยอมจากคณะกรรมการบริษัทโจทก์ก่อนก็ตาม แต่เมื่อผู้ค้ำประกันได้มีหนังสือบอกเลิกการค้ำประกันไปให้บริษัทโจทก์ทราบแล้วแต่กรรมการผู้จัดการบริษัทโจทก์ก็ทิ้งเรื่องไว้ตั้ง 5 เดือน แล้วจึงเสนอประธานกรรมการบริษัทโจทก์ระหว่างนั้นบริษัทโจทก์ก็ยังส่งข้าวสารไปยังลูกหนี้จนเกิดความเสียหายขึ้นแล้วจึงได้ให้ลูกหนี้ออกจากหน้าที่และแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรับผิดในความเสียหายเช่นนี้ถือว่าบริษัทโจทก์ใช้สิทธิโดยไม่สุจริตทำให้ผู้ค้ำประกันได้รับความเสียหายผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การค้ำประกันหนี้ในอนาคตนั้น แม้ตามสัญญาค้ำประกันจะมีข้อความว่า การถอนสัญญาค้ำประกันต้องได้รับหนังสือยินยอมจากคณะกรรมการบริษัทโจทก์ก่อนก็ตาม แต่เมื่อผู้ค้ำประกันได้มีหนังสือบอกเลิกการค้ำประกันไปให้บริษัทโจทก์ทราบแล้วแต่กรรมการผู้จัดการบริษัทโจทก์ก็ทิ้งเรื่องไว้ตั้ง 5 เดือน แล้วจึงเสนอประธานกรรมการบริษัทโจทก์ระหว่างนั้นบริษัทโจทก์ก็ยังส่งข้าวสารไปยังลูกหนี้จนเกิดความเสียหายขึ้นแล้วจึงได้ให้ลูกหนี้ออกจากหน้าที่และแจ้งให้ผู้ค้ำประกันรับผิดในความเสียหายเช่นนี้ถือว่าบริษัทโจทก์ใช้สิทธิโดยไม่สุจริตทำให้ผู้ค้ำประกันได้รับความเสียหายผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1641/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้ำประกัน: ผลของการบอกเลิกสัญญาค้ำประกันและการรับผิดชอบหนี้ก่อนและหลังบอกเลิก
จำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการบริษัทโจทก์ จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 โดยไม่จำกัดความรับผิดต่อมาจำเลยที่ 2 บอกเลิกสัญญาค้ำประกัน บริษัทโจทก์ว่ายังตรวจทรัพย์สินและทำงบดุลยังไม่เสร็จ จะถอนไม่ได้นั้น จำเลยที่ 2 บอกเลิกการค้ำประกันได้โดยไม่ต้องรับผิดในหนี้ภายหลังบอกเลิก ส่วนหนี้ที่เกิดขึ้นก่อนที่จำเลยที่ 2 บอกเลิกสัญญา จำเลยที่ 2 ก็ยังต้องรับผิดต่อโจทก์อยู่ ฉะนั้น เมื่อโจทก์เรียกร้องจากจำเลยที่ 1 ไม่ได้ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกัน ชำระหนี้นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1641/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาค้ำประกันและความรับผิดในหนี้เก่าและหนี้ใหม่ของผู้ค้ำประกัน
จำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการบริษัทโจทก์ จำเลยที่2 เป็นผู้ค้ำประกันจำเลยที่ 1 โดยไม่จำกัดความรับผิด ต่อมาจำเลยที่ 2 บอกเลิกสัญญาค้ำประกัน บริษัทโจทก์ว่ายังตรวจทรัพย์สินและทำงบดุลยังไม่เสร็จ จะถอนไม่ได้นั้น จำเลยที่ 2 บอกเลิกการค้ำประกันได้โดยไม่ต้องรับผิดในหนี้ภายหลังบอกเลิก ส่วนหนี้ที่เกิดขึ้นก่อนที่จำเลยที่ 2 บอกเลิกสัญญาจำเลยที่ 2 ก็ยังต้องรับผิดต่อโจทก์อยู่ ฉะนั้น เมื่อโจทก์เรียกร้องจากจำเลยที่ 1 ไม่ได้ โจทก์ก็มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันชำระหนี้นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1841/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้ำประกันสัญญาเช่าและการบอกเลิกสัญญาค้ำประกันก่อนครบกำหนด
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเช่าอาคารและที่ดินของโจทก์มีข้อความว่า เช่ามีกำหนด 1 ปี เมื่อครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว ถ้าไม่มีการทำสัญญาเช่ากันใหม่ ผู้เช่าจะต้องขนย้ายออกจากที่เช่าภายใน 30 วัน ถ้าไม่ขนย้ายออกไปจะต้องเสียค่าเสียหายเป็นรายวัน ๆ ละ 100 บาท ให้แก่โจทก์ โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันเงินค่าเช่าและค่าเสียหายซึ่งโจทก์จะเรียกร้องจากจำเลยที่ 1 ในการที่ไม่ปฏิบัติตามสัญญาเช่าดังนี้ จำเลยที่ 2 จะบอกเลิกการค้ำประกันเมื่อครบกำหนด 1 ปี โดยไม่ยอมรับผิดในค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 จะต้องชำระเพราะไม่ออกไปจากที่เช่าไม่ได้ เพราะรูปคดีไม่ต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 699
แม้จะระบุไว้ในสัญญาเช่าว่า เมื่อครบกำหนดสัญญาแล้ว ผู้เช่าไม่ออกไป จะต้องเสียค่าเสียหายผู้ให้เช่าวันละ 200 บาทก็ดี เมื่อศาลเห็นว่าค่าเสียหายสูงไป ก็มีอำนาจกำหนดค่าเสียหายให้แก่ผู้ให้เช่าตามควรแก่พฤติการณ์ได้
แม้จะระบุไว้ในสัญญาเช่าว่า เมื่อครบกำหนดสัญญาแล้ว ผู้เช่าไม่ออกไป จะต้องเสียค่าเสียหายผู้ให้เช่าวันละ 200 บาทก็ดี เมื่อศาลเห็นว่าค่าเสียหายสูงไป ก็มีอำนาจกำหนดค่าเสียหายให้แก่ผู้ให้เช่าตามควรแก่พฤติการณ์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1841/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันครอบคลุมค่าเสียหายจากสัญญาเช่า แม้เกิดหลังสัญญาเช่าสิ้นสุด การบอกเลิกสัญญาค้ำประกันก่อนกำหนดไม่สมเหตุสมผล
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเช่าอาคารและที่ดินของโจทก์มีข้อความว่าเช่ามีกำหนด 1 ปี เมื่อครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว ถ้าไม่มีการทำสัญญาเช่ากันใหม่ ผู้เช่าจะต้องขนย้ายออกจากที่เช่าภายใน 30 วันถ้าไม่ขนย้ายออกไปจะต้องเสียค่าเสียหายเป็นรายวันๆละ 100 บาทให้แก่โจทก์ โดยจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันเงินค่าเช่าและค่าเสียหายซึ่งโจทก์จะเรียกร้องจากจำเลยที่ 1 ในการที่ไม่ปฏิบัติตามสัญญาเช่า ดังนี้จำเลยที่ 2 จะบอกเลิกการค้ำประกันเมื่อครบกำหนด 1 ปี โดยไม่ยอมรับผิดในค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 จะต้องชำระเพราะไม่ออกไปจากที่เช่าไม่ได้ เพราะรูปคดีไม่ต้องด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 699
แม้จะระบุไว้ในสัญญาเช่าว่า เมื่อครบกำหนดสัญญาแล้ว ผู้เช่าไม่ออกไปจะต้องเสียค่าเสียหายแก่ผู้ให้เช่าวันละ 200 บาทก็ดี เมื่อศาลเห็นว่าค่าเสียหายสูงไปก็มีอำนาจกำหนดค่าเสียหายให้แก่ผู้ให้เช่าตามควรแก่พฤติการณ์ได้
แม้จะระบุไว้ในสัญญาเช่าว่า เมื่อครบกำหนดสัญญาแล้ว ผู้เช่าไม่ออกไปจะต้องเสียค่าเสียหายแก่ผู้ให้เช่าวันละ 200 บาทก็ดี เมื่อศาลเห็นว่าค่าเสียหายสูงไปก็มีอำนาจกำหนดค่าเสียหายให้แก่ผู้ให้เช่าตามควรแก่พฤติการณ์ได้