พบผลลัพธ์ทั้งหมด 4 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2301/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกบริษัท การแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี และอำนาจศาลในการสั่งแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีเพิ่มเติม
ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้มีมติพิเศษให้เลิกบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1236(4) ซึ่งมีผลตามกฎหมายให้บริษัทเลิกกันแล้ว จึงไม่มีเหตุที่ผู้ร้องซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจะต้องใช้สิทธิทางศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ขอให้ศาลสั่งเลิกบริษัทอีก
ผู้ร้องและกรรมการอื่นของบริษัทมีเหตุผิดใจกันไม่อาจชำระบัญชีร่วมกันได้. และข้อบังคับของบริษัทก็ไม่ได้กำหนดเรื่องผู้ชำระบัญชีไว้. ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลตั้งผู้ชำระบัญชีของบริษัทได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1251 วรรคสอง.
ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นได้มีมติให้ จ. กับ ว. เป็นผู้ชำระบัญชีของบริษัท. แต่ผู้ร้องขอให้ศาลตั้ง จ.แต่ผู้เดียวเป็นผู้ชำระบัญชีโดยไม่ปรากฏตามทางไต่สวนว่าเป็นเพราะเหตุใด. ข้อเท็จจริงยังไม่พอแก่การวินิจฉัยจึงสมควรให้ศาลชั้นต้นไต่สวนในข้อนี้เสียก่อน.
ผู้ร้องและกรรมการอื่นของบริษัทมีเหตุผิดใจกันไม่อาจชำระบัญชีร่วมกันได้. และข้อบังคับของบริษัทก็ไม่ได้กำหนดเรื่องผู้ชำระบัญชีไว้. ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลตั้งผู้ชำระบัญชีของบริษัทได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1251 วรรคสอง.
ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นได้มีมติให้ จ. กับ ว. เป็นผู้ชำระบัญชีของบริษัท. แต่ผู้ร้องขอให้ศาลตั้ง จ.แต่ผู้เดียวเป็นผู้ชำระบัญชีโดยไม่ปรากฏตามทางไต่สวนว่าเป็นเพราะเหตุใด. ข้อเท็จจริงยังไม่พอแก่การวินิจฉัยจึงสมควรให้ศาลชั้นต้นไต่สวนในข้อนี้เสียก่อน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2301/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกบริษัท, การตั้งผู้ชำระบัญชี, และอำนาจศาลในการพิจารณาแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี
ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้มีมติพิเศษให้เลิกบริษัทตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1236 (4) ซึ่งมีผลตามกฎหมายให้บริษัทเลิกกันแล้ว จึงไม่มีเหตุที่ผู้ร้องซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจะต้องใช้สิทธิทางศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ขอให้ศาลสั่งเลิกบริษัทอีก
ผู้ร้องและกรรมการอื่นของบริษัทมีเหตุผิดใจกันไม่อาจชำระบัญชีร่วมกันได้. และข้อบังคับของบริษัทก็ไม่ได้กำหนดเรื่องผู้ชำระบัญชีไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลตั้งผู้ชำระบัญชีของบริษัทได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1251 วรรคสอง
ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นได้มีมติให้ จ. กับ ว. เป็นผู้ชำระบัญชีของบริษัท. แต่ผู้ร้องขอให้ศาลตั้ง จ.แต่ผู้เดียวเป็นผู้ชำระบัญชีโดยไม่ปรากฏตามทางไต่สวนว่าเป็นเพราะเหตุใด ข้อเท็จจริงยังไม่พอแก่การวินิจฉัย จึงสมควรให้ศาลชั้นต้นไต่สวนในข้อนี้เสียก่อน
ผู้ร้องและกรรมการอื่นของบริษัทมีเหตุผิดใจกันไม่อาจชำระบัญชีร่วมกันได้. และข้อบังคับของบริษัทก็ไม่ได้กำหนดเรื่องผู้ชำระบัญชีไว้ ผู้ร้องจึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลตั้งผู้ชำระบัญชีของบริษัทได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1251 วรรคสอง
ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นได้มีมติให้ จ. กับ ว. เป็นผู้ชำระบัญชีของบริษัท. แต่ผู้ร้องขอให้ศาลตั้ง จ.แต่ผู้เดียวเป็นผู้ชำระบัญชีโดยไม่ปรากฏตามทางไต่สวนว่าเป็นเพราะเหตุใด ข้อเท็จจริงยังไม่พอแก่การวินิจฉัย จึงสมควรให้ศาลชั้นต้นไต่สวนในข้อนี้เสียก่อน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 223/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกบริษัทโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ถือหุ้นมีสิทธิฟ้องปลดเปลื้องความเสียหาย
จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ยื่นฟ้องบริษัทจำเลยที่ 1 ขอให้เลิกบริษัทจำเลยที่1 จำเลยที่ 2 ในฐานะกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ยื่นคำให้การต่อสู้คดี แล้วต่อมาจำเลยที่ 5 กับจำเลยที่ 2 ตกลงกันทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันให้เลิกบริษัทจำเลยที่ 1 ศาลได้พิพากษาตามยอมโดยหาได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงว่ามีเหตุที่จะเลิกบริษัทดังฟ้องไม่ดังนี้ การกระทำของจำเลยที่ 2 และที่ 5 จึงเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1194,1236(4) โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 อยู่ด้วย ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีปลดเปลื้องความเสียหาย โดยขอให้ศาลแสดงว่าคำพิพากษาตามยอมในคดีนั้นไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของโจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1ในอันที่จะให้บริษัทจำเลยที่ 1 คงมีอยู่ต่อไปได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 223/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกบริษัทโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ถือหุ้นมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายได้
จำเลยที่ 5 ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ยื่นฟ้องบริษัทจำเลยที่ 1 ขอให้เลิกบริษัทจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ในฐานะกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 ได้ยื่นคำให้การต่อสู้คดี แล้วต่อมาจำเลยที่ 5 กับจำเลยที่ 2 ตกลงกันทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันให้เลิกบริษัทจำเลยที่ 1 ศาลได้พิพากษาตามยอมโดยหาได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงว่ามีเหตุที่จะเลิกบริษัทดังฟ้องไม่ ดังนี้ การกระทำของจำเลยที่ 2 และที่ 5 จึงเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1194, 1236 (4) โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 อยู่ด้วย ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีปลดเปลื้องความเสียหายโดยขอให้ศาลแสดงว่าคำพิพากษาตามยอมในคดีนั้นไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของโจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 ในอันที่จะให้บริษัทจำเลยที่ 1 คงมีอยู่ต่อไปได้