พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,047 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1585/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับอายุงานลูกจ้างที่โอนย้ายหน่วยงาน: ให้นับต่อเนื่องจากหน่วยงานเดิมได้
เดิมโจทก์เป็นลูกจ้างของธนาคารอาคารสงเคราะห์ ต่อมามี ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 316 ให้โอนโจทก์มาเป็นลูกจ้างของการเคหะแห่งชาติจำเลย การโอนเช่นนี้ฐานะความเป็น ลูกจ้างของโจทก์ยังคงมีอยู่ มิได้สิ้นสุดลงเช่นการ เลิกจ้าง เมื่อมิได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น การนับอายุ การทำงานของโจทก์จึงต้องนับต่อเนื่องกันตั้งแต่โจทก์เข้าทำงานกับธนาคาร ข้อบังคับของจำเลยซึ่งให้นับอายุการทำงาน ตั้งแต่เมื่อเริ่มเข้าทำงานกับจำเลย ต้องใช้บังคับเฉพาะพนักงานหรือลูกจ้างที่สมัครเข้าทำงานใหม่เท่านั้น มิใช่ ถูกโอนมาเช่นกรณีของโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1585/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุการทำงานต่อเนื่องกรณีโอนพนักงานจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ การนับอายุงานต้องต่อเนื่อง แม้ข้อบังคับจำกัดสิทธิ
เดิมโจทก์เป็นลูกจ้างของธนาคารอาคารสงเคราะห์ ต่อมามี ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 316 ให้โอนโจทก์มาเป็นลูกจ้าง ของการเคหะแห่งชาติจำเลย การโอนเช่นนี้ฐานะความเป็น ลูกจ้างของโจทก์ยังคงมีอยู่ มิได้สิ้นสุดลงเช่นการ เลิกจ้าง เมื่อมิได้ตกลงกันไว้ เป็นอย่างอื่น การนับอายุ การทำงานของโจทก์จึงต้องนับต่อเนื่องกันตั้งแต่โจทก์เข้า ทำงานกับธนาคาร ข้อบังคับของจำเลยซึ่งให้นับอายุการทำงาน ตั้งแต่เมื่อเริ่มเข้าทำงานกับจำเลย ต้องใช้บังคับเฉพาะพนักงานหรือลูกจ้างที่สมัครเข้าทำงานใหม่เท่านั้น มิใช่ ถูกโอนมาเช่นกรณีของโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1549/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างต่างชาติเนื่องจากสัญชาติ ถือเป็นการเลิกจ้างที่ต้องจ่ายค่าชดเชย
ข้ออุทธรณ์ที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางแม้จะเป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ถ้า ศาลฎีกายังไม่เห็นสมควรหยิบยกขึ้นวินิจฉัย ก็ไม่รับ วินิจฉัยให้ ลูกจ้างพ้นจากตำแหน่งเพราะเหตุไม่มีสัญชาติไทยอันเป็นการพ้นจากตำแหน่งโดยผลของกฎหมาย แต่นายจ้างก็จะต้องดำเนินการให้ลูกจ้างพ้นจากตำแหน่งไปอีกชั้นหนึ่ง ซึ่ง เป็นการให้ลูกจ้าง ออกจากงานโดยไม่ได้กระทำผิดใดๆ จึงถือว่าเป็นการเลิกจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1542/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กำหนดระยะเวลายื่นคำขอรับเงินบำเหน็จ เริ่มนับจากวันที่จำเลยอนุญาตให้ลาออก ไม่ใช่วันที่ยื่นใบลาออก
ข้อบังคับของจำเลยที่กำหนดให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จต้องยื่นขอรับเงินภายใน 120 วัน นับแต่วันออกจากงาน จะต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์รู้ว่าตนมีสิทธิที่จะเรียกร้องเงินบำเหน็จจากจำเลยได้แล้ว คือวันที่จำเลยอนุญาตให้โจทก์ลาออกจากงานเป็นต้นไป มิใช่นับแต่วันที่โจทก์ยื่นใบลาออก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1542/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กำหนดระยะเวลายื่นคำขอรับเงินบำเหน็จ เริ่มนับจากวันที่จำเลยอนุญาตให้ลาออก ไม่ใช่วันยื่นใบลาออก
ข้อบังคับของจำเลยที่กำหนดให้ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จ ต้องยื่นขอรับเงินภายใน 120 วัน นับแต่วันออกจากงานจะต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์รู้ว่าตนมีสิทธิที่จะ เรียกร้องเงินบำเหน็จจากจำเลยได้แล้ว คือวันที่จำเลยอนุญาต ให้โจทก์ลาออกจากงานเป็นต้นไป มิใช่นับแต่วันที่โจทก์ ยื่นใบลาออก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1533/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นบริษัทกับสถานะนายจ้าง-ลูกจ้างต่อเนื่อง อายุงานนับต่อเนื่อง
การที่จำเลยที่ 2 ซื้อหุ้นบริษัทจำเลยที่ 1 นั้น มีผลเพียงเปลี่ยนตัวผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมซึ่งบริษัทจำเลยที่ 1 เช่ามาจากผู้อื่น จึงเป็นการดำเนินกิจการโรงแรมในฐานะผู้ซื้อหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 เท่ากับบริษัทจำเลยที่1 ยังเป็นผู้ดำเนินกิจการโรงแรมอยู่นั่นเอง บริษัทจำเลยที่ 1 ยังคงมีฐานะเป็นนายจ้างของโจทก์ซึ่งเป็นพนักงานโรงแรมนี้อยู่ จำเลยที่ 2 ได้รับมอบหมายจากผู้ถือหุ้นให้ดำเนินกิจการโรงแรมแทนบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้างของโจทก์ตามบทนิยามคำว่า 'นายจ้าง' ในข้อ 2 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน แม้จำเลยที่ 2 จะเข้ามาดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อจำเลยที่ 2 ซื้อหุ้น จากบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตาม แต่โจทก์ก็ได้ทำงานต่อเนื่องกันมา จึงต้อง นับอายุงานของโจทก์ที่ทำงานอยู่กับบริษัทจำเลยที่ 1 ต่อเนื่องกันมาด้วย จะนับอายุงานของโจทก์เพียงเท่าที่จำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1533/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นและการสืบตำแหน่งนายจ้างในสัญญาจ้างแรงงาน
การที่จำเลยที่ 2 ซื้อหุ้นบริษัทจำเลยที่ 1 นั้นมีผลเพียงเปลี่ยนตัวผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1. เมื่อจำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมซึ่งบริษัทจำเลยที่ 1เช่ามาจากผู้อื่น. จึงเป็นการดำเนินกิจการโรงแรมในฐานะผู้ซื้อหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1. เท่ากับบริษัทจำเลยที่1 ยังเป็นผู้ดำเนินกิจการโรงแรมอยู่นั่นเอง. บริษัทจำเลยที่ 1 ยังคงมีฐานะเป็นนายจ้างของโจทก์ซึ่งเป็นพนักงานโรงแรมนี้อยู่. จำเลยที่ 2 ได้รับมอบหมายจากผู้ถือหุ้นให้ดำเนินกิจการโรงแรมแทนบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล. ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้างของโจทก์ตามบทนิยามคำว่า'นายจ้าง' ในข้อ 2 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน. แม้จำเลยที่ 2 จะเข้ามาดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อจำเลยที่2 ซื้อหุ้นจากบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตาม. แต่โจทก์ก็ได้ทำงานต่อเนื่องกันมา. จึงต้องนับอายุงานของโจทก์ที่ทำงานอยู่กับบริษัทจำเลยที่ 1 ต่อเนื่องกันมาด้วย.จะนับอายุงานของโจทก์เพียงเท่าที่จำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1533/2527 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงตัวผู้ถือหุ้นและการดำเนินกิจการต่อเนื่อง: สถานะนายจ้าง-ลูกจ้างยังคงเดิม
การที่จำเลยที่ 2 ซื้อหุ้นบริษัทจำเลยที่ 1 นั้นมีผลเพียงเปลี่ยนตัวผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมซึ่งบริษัทจำเลยที่ 1 เช่ามาจากผู้อื่น จึงเป็นการดำเนินกิจการโรงแรมในฐานะผู้ซื้อหุ้นของบริษัทจำเลยที่ 1 เท่ากับบริษัทจำเลยที่1 ยังเป็นผู้ดำเนินกิจการโรงแรมอยู่นั่นเอง บริษัทจำเลยที่ 1 ยังคงมีฐานะเป็นนายจ้างของโจทก์ซึ่งเป็นพนักงานโรงแรมนี้อยู่
จำเลยที่ 2 ได้รับมอบหมายจากผู้ถือหุ้นให้ดำเนินกิจการโรงแรมแทนบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้างของโจทก์ตามบทนิยามคำว่า'นายจ้าง' ในข้อ 2 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน
แม้จำเลยที่ 2 จะเข้ามาดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อจำเลยที่ 2 ซื้อหุ้นจากบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตาม แต่โจทก์ก็ได้ทำงานต่อเนื่องกันมา จึงต้องนับอายุงานของโจทก์ที่ทำงานอยู่กับบริษัทจำเลยที่ 1 ต่อเนื่องกันมาด้วย จะนับอายุงานของโจทก์เพียงเท่าที่จำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมหาได้ไม่
จำเลยที่ 2 ได้รับมอบหมายจากผู้ถือหุ้นให้ดำเนินกิจการโรงแรมแทนบริษัทจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นนิติบุคคล ถือได้ว่าจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้างของโจทก์ตามบทนิยามคำว่า'นายจ้าง' ในข้อ 2 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน
แม้จำเลยที่ 2 จะเข้ามาดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อจำเลยที่ 2 ซื้อหุ้นจากบริษัทจำเลยที่ 1 ก็ตาม แต่โจทก์ก็ได้ทำงานต่อเนื่องกันมา จึงต้องนับอายุงานของโจทก์ที่ทำงานอยู่กับบริษัทจำเลยที่ 1 ต่อเนื่องกันมาด้วย จะนับอายุงานของโจทก์เพียงเท่าที่จำเลยที่ 2 เข้าดำเนินกิจการโรงแรมหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1530/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เลขทะเบียนรถยนต์ในฟ้องไม่ตรงกับข้อเท็จจริง ไม่เป็นเหตุให้ยกฟ้อง หากพิสูจน์ได้ว่าจำเลยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์รับประกันภัย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยขับรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน 7 ข - 4075 โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์รับประกันภัยไว้เสียหาย โจทก์ได้ใช้ ค่าเสียหายแก่ผู้เอาประกันภัยไปแล้ว จึงรับช่วงสิทธิ เรียกร้องเอาแก่จำเลยแม้ทางพิจารณาจะได้ความว่ารถยนต์ที่ จำเลยขับเป็นรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน 7 ข - 4095 ซึ่ง แตกต่างกับที่กล่าวในฟ้องก็ตาม ก็เป็นเพียงการแตกต่าง เกี่ยวกับเลขทะเบียนรถยนต์เท่านั้น ข้อสำคัญแห่งประเด็น อยู่ที่ว่าจำเลยได้ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์ รับประกันภัยหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยได้ ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์รับประกันภัยก็ชอบที่จะ ให้จำเลย ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1530/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับช่วงสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ แม้เลขทะเบียนรถยนต์ในฟ้องไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยขับรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน 7 ข -4075โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์รับประกันภัยไว้เสียหายโจทก์ ได้ใช้ ค่าเสียหายแก่ผู้เอาประกันภัยไปแล้ว จึงรับช่วงสิทธิ เรียกร้องเอาแก่จำเลยแม้ทางพิจารณาจะได้ความว่ารถยนต์ที่ จำเลยขับเป็นรถยนต์คันหมายเลขทะเบียน 7 ข - 4095 ซึ่ง แตกต่างกับที่กล่าวในฟ้องก็ตามก็เป็นเพียงการแตกต่าง เกี่ยวกับเลขทะเบียนรถยนต์เท่านั้นข้อสำคัญแห่งประเด็น อยู่ที่ว่าจำเลยได้ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์ รับประกันภัยหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยได้ ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถยนต์ที่โจทก์รับประกันภัยก็ชอบที่จะ ให้จำเลย ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ได้