พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,047 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 958-971/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยขยันไม่ใช่ค่าจ้าง: ไม่นำมาคำนวณค่าชดเชย
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างวางกฎเกณฑ์ว่า นายจ้างจะจ่ายเงินเพิ่มแก่ลูกจ้างที่ไม่ขาดงานเลยในเดือนหนึ่ง ๆ จำนวนหนึ่ง ถ้าขาดงานบ้างเงินเพิ่มก็จะลดลงตามส่วน เงินเพิ่มนี้เป็นเงินประเภทตอบแทนความขยันหรือที่เรียกกันว่าเบี้ยขยัน ไม่ใช่ตอบแทนการทำงานโดยตรง แม้ในข้อตกลงนั้นจะเรียกว่าค่าจ้างก็ตาม เงินเพิ่มนี้ก็หาใช่ค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 958-971/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยขยันไม่ใช่ค่าจ้าง: ศาลตัดสินว่าเงินเพิ่มจากเบี้ยขยันไม่นำมาคำนวณค่าชดเชย
ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างวางกฎเกณฑ์ว่า นายจ้างจะจ่ายเงินเพิ่มแก่ลูกจ้างที่ไม่ขาดงานเลยในเดือนหนึ่งๆจำนวนหนึ่งถ้าขาดงานบ้างเงินเพิ่มก็จะลดลงตามส่วนเงินเพิ่มนี้เป็นเงินประเภทตอบแทนความขยันหรือที่เรียกกันว่าเบี้ยขยันไม่ใช่ตอบแทนการทำงานโดยตรงแม้ในข้อตกลงนั้นจะเรียกว่าค่าจ้างก็ตามเงินเพิ่มนี้ก็หาใช่ค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 887/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินช่วยเหลือค่าครองชีพเป็นค่าจ้าง: การคำนวณเงินบำเหน็จ
จำเลยจ่ายเงินช่วยค่าครองชีพแก่โจทก์เป็นจำนวนแน่นอน เป็นรายเดือนเช่นเดียวกับเงินเดือน ข้อบังคับของจำเลยว่าด้วยกองทุนบำเหน็จ ให้บทนิยาม คำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้ว่า'หมายความว่า ค่าจ้างที่โรงงานน้ำตาลจ่ายให้แก่ พนักงานและคนงานประจำเพื่อตอบแทนการทำงาน แต่ไม่รวมถึง เงินตอบแทนในลักษณะค่าล่วงเวลา โบนัส เบี้ยเลี้ยงหรือประโยชน์ อย่างอื่น' ค่าครองชีพจึงเข้าลักษณะเป็นค่าจ้าง หาใช่ประโยชน์อย่างอื่นอันจะไม่ต้องนำมาคำนวณเงินบำเหน็จไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 887/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินช่วยเหลือค่าครองชีพเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้าง จึงต้องนำมาคำนวณเงินบำเหน็จตามข้อบังคับบริษัท
จำเลยจ่ายเงินช่วยค่าครองชีพแก่โจทก์เป็นจำนวนแน่นอนเป็นรายเดือนเช่นเดียวกับเงินเดือนข้อบังคับของจำเลยว่าด้วยกองทุนบำเหน็จ ให้บทนิยาม คำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้ว่า'หมายความว่า ค่าจ้างที่โรงงานน้ำตาลจ่ายให้แก่ พนักงานและคนงานประจำเพื่อตอบแทนการทำงาน แต่ไม่รวมถึง เงินตอบแทนในลักษณะค่าล่วงเวลา โบนัส เบี้ยเลี้ยงหรือประโยชน์ อย่างอื่น' ค่าครองชีพจึงเข้าลักษณะเป็นค่าจ้างหาใช่ประโยชน์อย่างอื่นอันจะไม่ต้องนำมาคำนวณเงินบำเหน็จไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 859/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม โดยอ้างเหตุจากความขัดแย้งในฐานะผู้ถือหุ้น ศาลยืนตามศาลแรงงานกลางให้รับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน
การที่โจทก์กับพวกฟ้อง ป. กรรมการผู้จัดการของจำเลยกับพวกและโจทก์เบิกความชั้นไต่สวนคำร้องเพื่อขอคุ้มครองประโยชน์ชั่วคราวเป็นกรณีที่โจทก์กระทำในฐานะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทจำเลยมิใช่กระทำในฐานะที่เป็นลูกจ้าง การที่โจทก์ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นฟ้อง ป. กับพวกซึ่งเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นเช่นเดียวกับโจทก์ ถือไม่ได้ว่าป. กับพวกอยู่ในฐานะที่เป็นนายจ้างของโจทก์ จำเลยจะนำเหตุนี้เป็นข้ออ้างเลิกจ้างโจทก์หาได้ไม่
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ.2522 มาตรา 49ให้อำนาจ ศาลที่จะวินิจฉัยว่าลูกจ้างกับนายจ้างสามารถร่วมกันทำงานต่อไปได้หรือไม่ โดยคำนึงถึงสภาพของสถานประกอบการและความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ถ้าเห็นว่าพอทำงานร่วมกันต่อไปได้ ก็จะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงาน ถ้าเห็นว่าไม่อาจร่วมกันทำงานต่อไปได้ก็จะกำหนดให้นายจ้างชดใช้ค่าเสียหายแทนการบังคับให้รับกลับเข้าทำงานเมื่อคดีได้ความว่าโจทก์กับกรรมการบริษัทจำเลยเป็นพี่น้อง กันการที่ศาลแรงงานกลางใช้ดุลพินิจพิจารณาถึงความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้ววินิจฉัยว่าโจทก์กับจำเลยสามารถทำงานร่วมกันต่อไปได้ และสั่งให้จำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงานจึงไม่ใช่การวินิจฉัยคดีโดยไม่มีข้อเท็จจริง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ.2522 มาตรา 49ให้อำนาจ ศาลที่จะวินิจฉัยว่าลูกจ้างกับนายจ้างสามารถร่วมกันทำงานต่อไปได้หรือไม่ โดยคำนึงถึงสภาพของสถานประกอบการและความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ถ้าเห็นว่าพอทำงานร่วมกันต่อไปได้ ก็จะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงาน ถ้าเห็นว่าไม่อาจร่วมกันทำงานต่อไปได้ก็จะกำหนดให้นายจ้างชดใช้ค่าเสียหายแทนการบังคับให้รับกลับเข้าทำงานเมื่อคดีได้ความว่าโจทก์กับกรรมการบริษัทจำเลยเป็นพี่น้อง กันการที่ศาลแรงงานกลางใช้ดุลพินิจพิจารณาถึงความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้ววินิจฉัยว่าโจทก์กับจำเลยสามารถทำงานร่วมกันต่อไปได้ และสั่งให้จำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงานจึงไม่ใช่การวินิจฉัยคดีโดยไม่มีข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 859/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม การกระทำในฐานะผู้ถือหุ้นไม่เป็นเหตุเลิกจ้าง ศาลฎีกายืนตามศาลแรงงานกลาง
การที่โจทก์กับพวกฟ้อง ป. กรรมการผู้จัดการของจำเลยกับพวกและโจทก์เบิกความชั้นไต่สวนคำร้องเพื่อขอคุ้มครองประโยชน์ชั่วคราวเป็นกรณีที่โจทก์กระทำในฐานะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทจำเลยมิใช่กระทำในฐานะที่เป็นลูกจ้าง การที่โจทก์ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นฟ้อง ป. กับพวกซึ่งเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นเช่นเดียวกับโจทก์ ถือไม่ได้ว่า ป. กับพวกอยู่ในฐานะที่เป็นนายจ้างของโจทก์ จำเลยจะนำเหตุนี้เป็นข้ออ้างเลิกจ้างโจทก์หาได้ไม่
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ.2522 มาตรา 49 ให้อำนาจศาลที่จะวินิจฉัยว่าลูกจ้างกับนายจ้างสามารถร่วมกันทำงานต่อไปได้หรือไม่ โดยคำนึงถึงสภาพของสถานประกอบการและความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ถ้าเห็นว่าพอทำงานร่วมกันต่อไปได้ ก็จะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงานถ้าเห็นว่าไม่อาจร่วมกันทำงานต่อไปได้ก็จะกำหนดให้นายจ้างชดใช้ค่าเสียหายแทนการบังคับให้รับกลับเข้าทำงาน เมื่อคดีได้ความว่าโจทก์กับกรรมการบริษัทจำเลยเป็นพี่น้อง กัน การที่ศาลแรงงานกลางใช้ดุลพินิจพิจารณาถึงความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้ววินิจฉัยว่าโจทก์กับจำเลยสามารถทำงานร่วมกันต่อไปได้ และสั่งให้จำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงาน จึงไม่ใช่การวินิจฉัยคดีโดยไม่มีข้อเท็จจริง
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ.2522 มาตรา 49 ให้อำนาจศาลที่จะวินิจฉัยว่าลูกจ้างกับนายจ้างสามารถร่วมกันทำงานต่อไปได้หรือไม่ โดยคำนึงถึงสภาพของสถานประกอบการและความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ถ้าเห็นว่าพอทำงานร่วมกันต่อไปได้ ก็จะสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงานถ้าเห็นว่าไม่อาจร่วมกันทำงานต่อไปได้ก็จะกำหนดให้นายจ้างชดใช้ค่าเสียหายแทนการบังคับให้รับกลับเข้าทำงาน เมื่อคดีได้ความว่าโจทก์กับกรรมการบริษัทจำเลยเป็นพี่น้อง กัน การที่ศาลแรงงานกลางใช้ดุลพินิจพิจารณาถึงความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้ววินิจฉัยว่าโจทก์กับจำเลยสามารถทำงานร่วมกันต่อไปได้ และสั่งให้จำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงาน จึงไม่ใช่การวินิจฉัยคดีโดยไม่มีข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 843/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแรงงาน: การฟ้องก่อนเกิดข้อพิพาทจริง และการวินิจฉัยนอกฟ้อง
เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2526 โจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์ในวันที่ 10ตุลาคม 2526 ดังนี้ ขณะฟ้องยังไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายเรื่องจำเลยเลิกจ้างโจทก์ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 843/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแรงงาน: การฟ้องก่อนเกิดข้อพิพาท, วินิจฉัยนอกฟ้อง, และผลกระทบต่อการพิจารณา
เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2526 โจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์ในวันที่ 10 ตุลาคม 2526 ดังนี้ ขณะฟ้องยังไม่มีข้อพิพาทเกี่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าที่ตามกฎหมายเรื่องจำเลยเลิกจ้างโจทก์ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800-836/2527 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
งานกรีดยางเป็นงานเกษตรกรรม ไม่ต้องจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำทุกฉบับที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันระบุว่ามิให้ใช้บังคับแก่งานเกษตรกรรมซึ่งได้แก่งานเพาะปลูก งานประมง ป่าไม้ และ เลี้ยงสัตว์ สำหรับงานเกษตรกรรมหรืองานเพาะปลูกนั้น เกษตรกรผู้ประกอบการดังกล่าวย่อมมุ่งหวังถึงผลิตผลของพืชที่เพาะปลูกลงเป็นสำคัญ เมื่อปลูกยางพาราแล้วมีการกรีดยางก็เป็นการเก็บเกี่ยวผลิตผลจากงานเพาะปลูก ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งของการเพาะปลูก ถือได้ว่าการที่จำเลยจ้างโจทก์กรีดยางพาราเป็นการจ้างทำงานเกษตรกรรมซึ่งไม่อยู่ในบังคับประกาศกระทรวงมหาดไทย โจทก์จึงเรียกร้องให้จำเลยจ่ายค่าจ้างตามที่ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำกำหนดซึ่งนอกเหนือไปจากที่ตกลงกันไว้หาได้ไม่
เมื่อโจทก์ฟ้องขอสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้ามาน้อยกว่าที่ควรจะได้จริงตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งเป็นการผิดพลาดพลั้งเผลอ การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาให้ตามคำขอของโจทก์จึงแสดงว่าไม่มีเหตุสมควรเพื่อความเป็นธรรมที่จะพิพากษาเกินคำขอ
ศาลแรงงานกลางให้พิจารณาพิพากษารวมกัน โจทก์ทุกสำนวนยื่นบัญชีระบุพยานอ้างพยานร่วมกัน โดยอ้างตัวโจทก์ทุกสำนวนเป็นพยานด้วย การที่โจทก์บางสำนวนเข้าเบิกความเป็นพยานก็เท่ากับเป็นพยานโจทก์ทุกสำนวนด้วย เมื่อศาลแรงงานกลางเห็นว่าถ้อยคำที่โจทก์บางคนดังกล่าวเบิกความเป็นพยานรับฟังได้ก็มีผลถึงโจทก์อื่นด้วย
เมื่อโจทก์ฟ้องขอสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้ามาน้อยกว่าที่ควรจะได้จริงตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งเป็นการผิดพลาดพลั้งเผลอ การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาให้ตามคำขอของโจทก์จึงแสดงว่าไม่มีเหตุสมควรเพื่อความเป็นธรรมที่จะพิพากษาเกินคำขอ
ศาลแรงงานกลางให้พิจารณาพิพากษารวมกัน โจทก์ทุกสำนวนยื่นบัญชีระบุพยานอ้างพยานร่วมกัน โดยอ้างตัวโจทก์ทุกสำนวนเป็นพยานด้วย การที่โจทก์บางสำนวนเข้าเบิกความเป็นพยานก็เท่ากับเป็นพยานโจทก์ทุกสำนวนด้วย เมื่อศาลแรงงานกลางเห็นว่าถ้อยคำที่โจทก์บางคนดังกล่าวเบิกความเป็นพยานรับฟังได้ก็มีผลถึงโจทก์อื่นด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 800-836/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
งานกรีดยางเป็นงานเกษตรกรรม ไม่ต้องจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องอัตราค่าจ้างขั้นต่ำทุกฉบับที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันระบุว่ามิให้ใช้บังคับแก่งานเกษตรกรรมซึ่งได้แก่งานเพาะปลูก งานประมง ป่าไม้ และ เลี้ยงสัตว์ สำหรับงานเกษตรกรรมหรืองานเพาะปลูกนั้น เกษตรกรผู้ประกอบการดังกล่าวย่อมมุ่งหวังถึงผลิตผลของพืชที่เพาะปลูกลงเป็นสำคัญ เมื่อปลูกยางพาราแล้วมีการกรีดยางก็เป็น การเก็บเกี่ยวผลิตผลจากงานเพาะปลูก ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งของ การเพาะปลูก ถือได้ว่าการที่จำเลยจ้างโจทก์กรีดยางพาราเป็นการจ้างทำงานเกษตรกรรมซึ่งไม่อยู่ในบังคับ ประกาศกระทรวงมหาดไทย โจทก์จึงเรียกร้องให้จำเลยจ่ายค่าจ้าง ตามที่ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำกำหนดซึ่งนอกเหนือไปจากที่ตกลงกันไว้หาได้ไม่ เมื่อโจทก์ฟ้องขอสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้ามาน้อยกว่าที่ควรจะได้จริงตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งเป็นการผิดพลาด พลั้งเผลอ การที่ศาลแรงงานกลางพิพากษาให้ตามคำขอของโจทก์จึงแสดงว่าไม่มีเหตุสมควรเพื่อความเป็นธรรมที่จะ พิพากษาเกินคำขอ ศาลแรงงานกลางให้พิจารณาพิพากษารวมกัน โจทก์ทุกสำนวนยื่นบัญชีระบุพยานอ้างพยานร่วมกัน โดยอ้างตัวโจทก์ทุกสำนวนเป็นพยานด้วย การที่โจทก์บางสำนวนเข้าเบิกความเป็นพยานก็เท่ากับเป็นพยานโจทก์ทุกสำนวนด้วย เมื่อศาลแรงงานกลางเห็นว่าถ้อยคำที่โจทก์บางคนดังกล่าวเบิกความเป็นพยานรับฟัง ได้ก็มีผลถึงโจทก์อื่นด้วย