พบผลลัพธ์ทั้งหมด 459 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 36/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษจำเลยเกินคำฟ้องและขอบเขตการพิจารณาโทษในศาลฎีกา
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกับพวกบังอาจร่วมกันใช้ด้ามปืนยาวเป็นอาวุธตีทำร้ายร่างกายนายเจ๊ก นายพวง และนายจันทร์หลายครั้งโดยเจตนาจะฆ่าคนทั้งสามให้ตาย ฯลฯ ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288, 80, 288, 83 เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ศาลจะลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไม่ได้ เพราะเกินคำฟ้อง
ปัญหาเรื่องลงโทษเกินคำฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยกระทำความผิด 3 กระทง ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 15 ปี 2 กระทง ส่วนอีกกระทงหนึ่งจำคุก 10 ปี รวมจำคุก 40 ปี ศาลฎีกาเห็นว่าตามคำฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ดังนี้ แม้โจทก์จะมิได้ฎีกาขอให้เพิ่มเติมโทษจำเลย ศาลฎีกาจะพิพากษาให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดให้จำคุกจำเลยมีกำหนด 20 ปีได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 212
ปัญหาเรื่องลงโทษเกินคำฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยแม้คู่ความมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยกระทำความผิด 3 กระทง ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 15 ปี 2 กระทง ส่วนอีกกระทงหนึ่งจำคุก 10 ปี รวมจำคุก 40 ปี ศาลฎีกาเห็นว่าตามคำฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ดังนี้ แม้โจทก์จะมิได้ฎีกาขอให้เพิ่มเติมโทษจำเลย ศาลฎีกาจะพิพากษาให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดให้จำคุกจำเลยมีกำหนด 20 ปีได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 212
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 36/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตคำฟ้องอาญา: การลงโทษกรรมเดียวแต่ผิดหลายบท vs. ลงโทษทุกกรรมเป็นกระทง
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยกับพวกบังอาจร่วมกันใช้ด้ามปืนยาวเป็นอาวุธ ตีทำร้ายร่างกายนายเจ๊กนายพวง และนายจันทร์หลายครั้งโดยเจตนาจะฆ่าคนทั้งสามให้ตาย ฯลฯ ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288,80,288,83 เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ศาลจะลงโทษจำเลยทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไม่ได้ เพราะเกินคำฟ้อง
ปัญหาเรื่องลงโทษเกินคำฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้คู่ความมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยกระทำความผิด 3 กระทง ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 15 ปี 2 กระทง ส่วนอีกกระทงหนึ่งจำคุก 10 ปี รวมจำคุก 40 ปี ศาลฎีกาเห็นว่าตามคำฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ดังนี้ แม้โจทก์จะมิได้ฎีกาขอให้เพิ่มเติมโทษจำเลย ศาลฎีกาจะพิพากษาให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดให้จำคุกจำเลยมีกำหนด20 ปีได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 212
ปัญหาเรื่องลงโทษเกินคำฟ้องเป็นปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้คู่ความมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าจำเลยกระทำความผิด 3 กระทง ให้ลงโทษจำคุกกระทงละ 15 ปี 2 กระทง ส่วนอีกกระทงหนึ่งจำคุก 10 ปี รวมจำคุก 40 ปี ศาลฎีกาเห็นว่าตามคำฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องที่ขอให้ลงโทษจำเลยกรรมเดียวแต่ผิดกฎหมายหลายบทเท่านั้น ดังนี้ แม้โจทก์จะมิได้ฎีกาขอให้เพิ่มเติมโทษจำเลย ศาลฎีกาจะพิพากษาให้ลงโทษจำเลยตามกฎหมายบทที่มีโทษหนักที่สุดให้จำคุกจำเลยมีกำหนด20 ปีได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการพิพากษาเพิ่มเติมโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 212
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 21/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการทุเลาการบังคับคดี: ศาลอุทธรณ์มีอำนาจตัดสินในระหว่างพิจารณาคดี ศาลฎีกาไม่มีอำนาจแก้ไข
การขอทุเลาการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 231 นั้น กฎหมายกำหนดวิธีการให้อยู่ในอำนาจของศาลเป็นขั้น ๆ ไป สำหรับคดีนี้อยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ การวินิจฉัยชี้ขาดคำร้องขอทุเลาการบังคับจึงเป็นอำนาจของศาลอุทธรณ์โดยเฉพาะ ศาลฎีกาไม่มีอำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลอุทธรณ์เป็นอย่างอื่นได้ และกรณีที่ศาลอุทธรณ์มีคำสั่งคำร้องขอทุเลาการบังคับแล้ว จำเลยจะฎีกาคัดค้านคำสั่งศาลอุทธรณ์มิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลื่อนนัดสืบพยานจากความเข้าใจผิดเรื่องเวลา ไม่ถือว่าโจทก์ไม่มีพยาน
วันนัดสืบพยานโจทก์ทั้งสองคราวโจทก์นำพยานมาศาล โดยครั้งแรกจำเลยที่ 2 ขอเลื่อนคดี แต่วันนัดสืบพยานครั้งที่สองโจทก์นำพยานมาศาลผิดเวลาเพราะจดเวลานัดสืบพยานคลาดเคลื่อนไป เป็นข้ออ้างมีเหตุผลสมควร เพราะวันนัดสืบพยานครั้งแรกนัดสืบพยานเวลา 13.30 นาฬิกา ส่วนครั้งหลังนัดเวลา 9 นาฬิกา การที่โจทก์ไม่มาศาลตามเวลาในวันนัดสืบพยานโจทก์ดังกล่าวยังไม่พอถือว่าโจทก์ไม่มีพยานมาสืบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 14/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่มาศาลตามเวลาที่ผิดพลาดเนื่องจากจดเวลาคลาดเคลื่อน ไม่ถือว่าโจทก์ไม่มีพยาน
วันนัดสืบพยานโจทก์ทั้งสองคราวโจทก์นำพยานมาศาล โดยครั้งแรกจำเลยที่ 2 ขอเลื่อนคดี แต่วันนัดสืบพยานครั้งที่สองโจทก์นำพยานมาศาลผิดเวลาเพราะจดเวลานัดสืบพยานคลาดเคลื่อนไปเป็นข้ออ้างที่มีเหตุผลสมควร เพราะวันนัดสืบพยานครั้งแรกนัดสืบพยานเวลา 13.30 นาฬิกา ส่วนครั้งหลังนัดเวลา 9 นาฬิกา การที่โจทก์ไม่มาศาลตามเวลาในวันนัดสืบพยานโจทก์ดังกล่าวยังไม่พอถือว่าโจทก์ไม่มีพยานมาสืบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2612/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อนาของผู้เช่าเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ แม้มีการเจรจาแต่ยังไม่ตกลงประนีประนอม สิทธิซื้อยังไม่ระงับ
น. ขายนาพิพาทให้แก่จำเลยโดยมิได้แจ้งการขายให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้เช่าทำนาทราบ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทจากจำเลยตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 มาตรา 41
โจทก์ร้องเรียนต่อกรมการอำเภอเพื่อขอซื้อนาพิพาทจากจำเลยกรมการอำเภอบันทึกเปรียบเทียบคดีไว้ว่า "ให้จำเลยขายนาพิพาทแก่โจทก์ จำเลยไม่ตกลงขายแต่ยินยอมให้โจทก์เช่านาทำต่อไป โจทก์ตกลง ถ้าโจทก์ประสงค์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องต่อศาล "และบันทึกข้อตกลงของโจทก์จำเลยไว้ว่าโจทก์ตกลงเช่าทำนาต่อไป จำเลยยอมให้โจทก์เช่าทำนา แต่ยังไม่ยอมขายให้แก่โจทก์ตามราคาที่โจทก์เสนอ" ดังนี้บันทึกดังกล่าวมีแต่ข้อตกลงเรื่องการเช่านาพิพาทซึ่งแม้จะไม่มีข้อตกลงโจทก์ก็มีสิทธิเช่าจากจำเลย ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิของโจทก์ในเรื่องซื้อนาพิพาทและไม่มีข้อความใดแสดงให้เห็นว่าโจทก์สละสิทธิการซื้อนาพิพาทจากจำเลยแต่มีข้อความว่าถ้าโจทก์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องยังศาล ทั้งตอนท้ายบันทึกยังมีว่าผลการเปรียบเทียบไม่อาจตกลงกันได้ตามความประสงค์ของโจทก์ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าสิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทยังตกลงกันไม่ได้ และยังไม่ได้ตกลงประนีประนอมยอมความกัน จึงไม่ทำให้สิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทระงับไป
โจทก์ร้องเรียนต่อกรมการอำเภอเพื่อขอซื้อนาพิพาทจากจำเลยกรมการอำเภอบันทึกเปรียบเทียบคดีไว้ว่า "ให้จำเลยขายนาพิพาทแก่โจทก์ จำเลยไม่ตกลงขายแต่ยินยอมให้โจทก์เช่านาทำต่อไป โจทก์ตกลง ถ้าโจทก์ประสงค์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องต่อศาล "และบันทึกข้อตกลงของโจทก์จำเลยไว้ว่าโจทก์ตกลงเช่าทำนาต่อไป จำเลยยอมให้โจทก์เช่าทำนา แต่ยังไม่ยอมขายให้แก่โจทก์ตามราคาที่โจทก์เสนอ" ดังนี้บันทึกดังกล่าวมีแต่ข้อตกลงเรื่องการเช่านาพิพาทซึ่งแม้จะไม่มีข้อตกลงโจทก์ก็มีสิทธิเช่าจากจำเลย ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิของโจทก์ในเรื่องซื้อนาพิพาทและไม่มีข้อความใดแสดงให้เห็นว่าโจทก์สละสิทธิการซื้อนาพิพาทจากจำเลยแต่มีข้อความว่าถ้าโจทก์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องยังศาล ทั้งตอนท้ายบันทึกยังมีว่าผลการเปรียบเทียบไม่อาจตกลงกันได้ตามความประสงค์ของโจทก์ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าสิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทยังตกลงกันไม่ได้ และยังไม่ได้ตกลงประนีประนอมยอมความกัน จึงไม่ทำให้สิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทระงับไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2612/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อนาของผู้เช่าเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ และการไม่ถือว่าการตกลงเช่าเป็นการสละสิทธิซื้อ
น.ขายนาพิพาทให้แก่จำเลยโดยมิได้แจ้งการขายให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นผู้เช่าทำนาทราบ โจทก์จึงมีสิทธิซื้อนาพิพาทจากจำเลยตามพระราชบัญญัติควบคุมการเช่านา พ.ศ.2517 มาตรา 41
โจทก์ร้องเรียนต่อกรมการอำเภอเพื่อขอซื้อนาพิพาทจากจำเลย กรมการอำเภอบันทึกเปรียบเทียบคดีไว้ว่า "ให้จำเลยขายนาพิพาทแก่โจทก์ จำเลยไม่ตกลงขายแต่ยินยอมให้โจทก์เช่านาทำต่อไป โจทก์ตกลง ถ้าโจทก์ประสงค์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องต่อศาล" และบันทึกข้อตกลงของโจทก์จำเลยไว้ว่า "โจทก์ตกลงเช่าทำนาต่อไป จำเลยยอมให้โจทก์เช่าทำนา แต่ยังไม่ยอมขายให้แก่โจทก์ตามราคาที่โจทก์เสนอ" ดังนี้ บันทึกดังกล่าวมีแต่ข้อตกลงเรื่องการเช่านาพิพาทซึ่งแม้จะไม่มีข้อตกลงโจทก์ก็มีสิทธิเช่าจากจำเลย ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิของโจทก์ในเรื่องซื้อนาพิพาทและไม่มีข้อความใดแสดงให้เห็นว่าโจทก์สละสิทธิการซื้อนาพิพาทจากจำเลย แต่มีข้อความว่าถ้าโจทก์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องยังศาล ทั้งตอนท้ายบันทึกยังมีว่าผลการเปรียบเทียบไม่อาจตกลงกันได้ตามความประสงค์ของโจทก์ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าสิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทยังตกลงกันไม่ได้ และยังไม่ได้ตกลงประนีประนอมยอมความกัน จึงไม่ให้สิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทระงับไป
โจทก์ร้องเรียนต่อกรมการอำเภอเพื่อขอซื้อนาพิพาทจากจำเลย กรมการอำเภอบันทึกเปรียบเทียบคดีไว้ว่า "ให้จำเลยขายนาพิพาทแก่โจทก์ จำเลยไม่ตกลงขายแต่ยินยอมให้โจทก์เช่านาทำต่อไป โจทก์ตกลง ถ้าโจทก์ประสงค์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องต่อศาล" และบันทึกข้อตกลงของโจทก์จำเลยไว้ว่า "โจทก์ตกลงเช่าทำนาต่อไป จำเลยยอมให้โจทก์เช่าทำนา แต่ยังไม่ยอมขายให้แก่โจทก์ตามราคาที่โจทก์เสนอ" ดังนี้ บันทึกดังกล่าวมีแต่ข้อตกลงเรื่องการเช่านาพิพาทซึ่งแม้จะไม่มีข้อตกลงโจทก์ก็มีสิทธิเช่าจากจำเลย ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับสิทธิของโจทก์ในเรื่องซื้อนาพิพาทและไม่มีข้อความใดแสดงให้เห็นว่าโจทก์สละสิทธิการซื้อนาพิพาทจากจำเลย แต่มีข้อความว่าถ้าโจทก์จะซื้อนาพิพาทก็ให้ไปฟ้องร้องยังศาล ทั้งตอนท้ายบันทึกยังมีว่าผลการเปรียบเทียบไม่อาจตกลงกันได้ตามความประสงค์ของโจทก์ทั้งหมด แสดงให้เห็นว่าสิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทยังตกลงกันไม่ได้ และยังไม่ได้ตกลงประนีประนอมยอมความกัน จึงไม่ให้สิทธิของโจทก์ที่จะซื้อนาพิพาทระงับไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2568/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาการก่อสร้าง: การผิดสัญญาเรื่องการขับไล่ผู้เช่า และผลกระทบต่อค่าเสียหาย
สัญญาก่อสร้างตึกแถวมีข้อความว่า ผู้ก่อสร้าง (จำเลย) ต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการขับไล่ผู้อยู่อาศัยที่ยังเหลืออยู่อีกสองรายในที่ดิน ส่วนที่ผู้ให้ก่อสร้าง (โจทก์) ชนะคดีแล้วนั้น ผู้ให้ก่อสร้างรับผิดชอบขับไล่ให้โดยบังคับคดีภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญา ดังนี้ เมื่อโจทก์ได้ยื่นคำแถลงให้ศาลชั้นต้นดำเนินการบังคับคดีแล้ว ถือได้ว่าโจทก์ได้ดำเนินการบังคับคดีให้ผู้เช่าออกจากตึกแถวแล้วตามสัญญามิได้หมายความว่าโจทก์จะต้องขับไล่ผู้เช่าออกไปจากตึกแถวภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญา ทั้งนี้ เนื่องจากเห็นได้ว่าการทำสัญญาก่อสร้างระหว่างโจทก์จำเลยมิได้มุ่งเรื่องเวลาเป็นข้อสารสำคัญ หากแต่มีเจตนาผ่อนปรนซึ่งกันและกันตามสมควร
ในกรณีผิดสัญญา สิทธิของคู่สัญญาที่จะบังคับเอาแก่คู่สัญญาฝ่ายที่ผิดสัญญานั้นมีอยู่สองประการ คือ บังคับให้ปฏิบัติการชำระหนี้ตามมูลหนี้ประการหนึ่ง กับบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายอีกประการหนึ่ง คดีนี้โจทก์บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้วย่อมจะบังคับให้จำเลยชำระหนี้ตามสัญญาไม่ได้ การที่โจทก์อ้างว่าถ้าจำเลยสร้างตึกแถวเสร็จโจทก์จะได้กรรมสิทธิ์และได้ค่าเช่านั้น เท่ากับโจทก์ฟ้องบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญา โจทก์จึงไม่มีสิทธิ แต่การที่จำเลยผิดสัญญาทำให้โจทก์ขาดประโยชน์ที่จะได้รับค่าหน้าดินตามสัญญา ค่าเสียหายที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้องจากจำเลยได้จึงควรเท่ากับจำนวนเงินดังกล่าว
ในกรณีผิดสัญญา สิทธิของคู่สัญญาที่จะบังคับเอาแก่คู่สัญญาฝ่ายที่ผิดสัญญานั้นมีอยู่สองประการ คือ บังคับให้ปฏิบัติการชำระหนี้ตามมูลหนี้ประการหนึ่ง กับบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายอีกประการหนึ่ง คดีนี้โจทก์บอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้วย่อมจะบังคับให้จำเลยชำระหนี้ตามสัญญาไม่ได้ การที่โจทก์อ้างว่าถ้าจำเลยสร้างตึกแถวเสร็จโจทก์จะได้กรรมสิทธิ์และได้ค่าเช่านั้น เท่ากับโจทก์ฟ้องบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญา โจทก์จึงไม่มีสิทธิ แต่การที่จำเลยผิดสัญญาทำให้โจทก์ขาดประโยชน์ที่จะได้รับค่าหน้าดินตามสัญญา ค่าเสียหายที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้องจากจำเลยได้จึงควรเท่ากับจำนวนเงินดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2568/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาการก่อสร้าง: การผ่อนปรนเงื่อนไขสัญญาและการเรียกร้องค่าเสียหายจากความผิดสัญญา
สัญญาก่อสร้างตึกแถวมีข้อความว่า ผู้ก่อสร้าง (จำเลย) ต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการขับไล่ผู้อาศัยที่ยังเหลืออยู่อีกสองรายในที่ดิน ส่วนที่ผู้ให้ก่อสร้าง (โจทก์) ชนะคดีแล้วนั้น ผู้ให้ก่อสร้างรับผิดชอบขับไล่ให้โดยบังคับคดีภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญาดังนี้ เมื่อโจทก์ได้ยื่นคำแถลงให้ศาลชั้นต้นดำเนินการบังคับคดีแล้ว ถือได้ว่าโจทก์ได้ดำเนินการบังคับคดีให้ผู้เช่าออกจากตึกแถวแล้วตามสัญญา มิได้หมายความว่าโจทก์จะต้องขับไล่ผู้เช่าออกไปจากตึกแถวภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญา ทั้งนี้ เนื่องจากเห็นได้ว่าการทำสัญญาก่อสร้างระหว่างโจทก์จำเลยมิได้มุ่งเรื่องเวลาเป็นข้อสารสำคัญ หากแต่มีเจตนาผ่อนปรนซึ่งกันและกันตามสมควร
ในกรณีผิดสัญญา สิทธิของคู่สัญญาที่จะบังคับเอาแก่คู่สัญญาฝ่าที่ผิดสัญญานั้นมีอยู่สองประการ คือ บังคับให้ปฏิบัติการชำระหนี้ตามมูลหนี้ประการหนึ่ง กับบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายอีกประการหนึ่ง คดีนี้โจทก์อ้างว่าถ้าจำเลยสร้างตึกแถวเสร็จโจทก์จะได้กรรมสิทธิ์และได้ค่าเช่านั้น เท่ากับโจทก์ฟ้องบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญา โจทก์จึงไม่มีสิทธิแต่การที่จำเลยผิดสัญญาทำให้โจทก์ขาดประโยชน์ที่จะได้รับค่าหน้าดินตามสัญญา ค่าเสียหายที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้องจากจำเลยได้จึงควรเท่ากับจำนวนเงินดังกล่าว
ในกรณีผิดสัญญา สิทธิของคู่สัญญาที่จะบังคับเอาแก่คู่สัญญาฝ่าที่ผิดสัญญานั้นมีอยู่สองประการ คือ บังคับให้ปฏิบัติการชำระหนี้ตามมูลหนี้ประการหนึ่ง กับบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายอีกประการหนึ่ง คดีนี้โจทก์อ้างว่าถ้าจำเลยสร้างตึกแถวเสร็จโจทก์จะได้กรรมสิทธิ์และได้ค่าเช่านั้น เท่ากับโจทก์ฟ้องบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญา โจทก์จึงไม่มีสิทธิแต่การที่จำเลยผิดสัญญาทำให้โจทก์ขาดประโยชน์ที่จะได้รับค่าหน้าดินตามสัญญา ค่าเสียหายที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้องจากจำเลยได้จึงควรเท่ากับจำนวนเงินดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2566/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาผ่อนปรนสัญญา, กำหนดเวลาขับไล่, การปฏิบัติหน้าที่ตามสัญญา, สัญญาก่อสร้าง
โจทก์จำเลยทำสัญญากันให้โจทก์ก่อสร้างตึกแถวยกกรรมสิทธิ์ให้จำเลยบนที่ดินของจำเลย โดยโจทก์มีสิทธิเรียกเงินช่วยค่าก่อสร้างจากผู้เช่า ตามสัญญาระบุว่า จำเลยรับผิดชอบขับไล่ผู้อยู่อาศัยในที่ดิน ซึ่งจำเลยชนะคดีแล้วโดยบังคับคดีภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญา ดังนี้เมื่อเห็นได้ว่าการทำสัญญาระหว่างโจทก์จำเลยมิได้มุ่งถึงเรื่องเวลาเป็นข้อสาระสำคัญ หากแต่โจทก์จำเลยมีเจตนาผ่อนปรนซึ่งกันและกันตามสมควร กำหนดเวลาที่ว่าจำเลยต้องขับไล่ผู้แพ้คดีออกไปดังกล่าว จึงหมายความว่าจำเลยจะต้องดำเนินการบังคับคดีตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ภายใน 20 วันนับแต่วันทำสัญญา หาใช่จะต้องขับไล่บุคคลดังกล่าวออกไปโดยเด็ดขาดภายในกำหนด 20 วันนับแต่วันทำสัญญาไม่ ปรากฏว่าจำเลยได้ยื่นคำแถลงให้ศาลดำเนินการบังคับคดีแก่ผู้แพ้คดีซึ่งมีอยู่ 2 รายและผู้แพ้คดีรายหนึ่งออกไปจากที่ดินตั้งแต่ก่อนโจทก์จำเลยทำสัญญาก่อสร้างกัน ส่วนผู้แพ้คดีอีกรายหนึ่งออกไปหลังจากวันทำสัญญาก่อสร้างราว 5 เดือน ก่อนที่โจทก์จะต้องชำระค่าหน้าดินงวดที่สองให้จำเลยถือว่าจำเลยได้ปฏิบัติหน้าที่ตามสัญญาแล้ว ไม่เป็นฝ่ายผิดสัญญา