พบผลลัพธ์ทั้งหมด 16 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 527/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรื้อรั้วเขตที่ดินและบุกรุกเพื่อครอบครองถือเอาที่ดินของผู้อื่นเป็นความผิดทางอาญา
จำเลยสั่งให้ ท. กับพวกรื้อรั้วซึ่งเป็นเครื่องหมายเขตแห่งที่ดินและเข้าไปปิดกั้นรั้วของโจทก์ร่วมในที่ดินโฉนดเลขที่ 7992 โดย ท. กับพวกทำตามคำสั่งของจำเลยโดยไม่มีเจตนาร่วมกระทำความผิดด้วย กรณีจึงถือได้ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำความผิดฐานทำลายเครื่องหมายเขตแห่งอสังหาริมทรัพย์ และเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ร่วมเพื่อถือเอาที่ดินบางส่วนตามโฉนดเลขที่ 7992 ของโจทก์ร่วมเป็นของจำเลย อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ร่วมโดยปกติสุข ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362และ 363 โดยจำเลยใช้ ท. กับพวกเป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 527/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรบกวนการครอบครองที่ดินโดยทำลายเครื่องหมายเขตและบุกรุก
จำเลยสั่งให้ ท.กับพวกรื้อรั้วซึ่งเป็นเครื่องหมายเขตแห่งที่ดินและเข้าไปปิดกั้นรั้วของโจทก์ร่วมในที่ดินโฉนดเลขที่ 7992 โดย ท.กับพวกทำตามคำสั่งของจำเลยโดยไม่มีเจตนาร่วมกระทำความผิดด้วย กรณีจึงถือได้ว่าจำเลยเป็นผู้กระทำความผิดฐานทำลายเครื่องหมายเขตแห่งอสังหาริมทรัพย์ และเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ร่วมเพื่อถือเอาที่ดินบางส่วนตามโฉนดเลขที่ 7992ของโจทก์ร่วมเป็นของจำเลย อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ร่วมโดยปกติสุข ตาม ป.อ.มาตรา 362 และ 363 โดยจำเลยใช้ ท.กับพวกเป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินโดยเชื่อสุจริตและการพิสูจน์ความเป็นที่สาธารณประโยชน์มีผลต่อความผิดฐานบุกรุกและขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน
การที่ศาลจะมีอำนาจสั่งให้บุคคลใดออกไปจากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีที่ศาลพิพากษาว่า บุคคลดังกล่าวได้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ แล้ว เมื่อที่พิพาทยังไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์และจำเลยยึดถือครอบครองอยู่โดยเชื่อว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจสั่งให้จำเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได้
การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอเพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา215 และ 225.
การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอเพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา215 และ 225.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินโดยเชื่อว่ามีสิทธิ และความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าไม่มีความผิด
การที่ศาลจะมีอำนาจสั่งให้บุคคลใดออกไปจากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีที่ศาลพิพากษาว่า บุคคลดังกล่าวได้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9,108 ทวิ แล้ว เมื่อที่พิพาทยังไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์และจำเลยยึดถือครอบครองอยู่โดยเชื่อว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจสั่งให้จำเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได้ การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอเพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา215 และ 225.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีบุกรุก: การไม่ร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน ทำให้คดีขาดอายุความ แม้การบุกรุกยังคงอยู่
จำเลยเข้าไปปักเสาและปลูกต้นมะขาม ในที่ดินของโจทก์ก็เพื่อถือการครอบครองที่ดินของโจทก์ ดังนั้น ความผิดฐานบุกรุกได้เกิดขึ้นและสำเร็จแล้วเมื่อจำเลยเข้าไปกระทำการดังกล่าวส่วนการครอบครองที่ดินต่อมาเป็นเพียงผลของการบุกรุก การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดต่อเนื่องตราบเท่าที่จำเลยยังถือการครอบครองที่ดินของโจทก์ โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ถึง 10 สิงหาคม2528 เวลาใดไม่ปรากฏชัด ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 362 และ 363 โดยมิได้บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืนแม้จะมีข้อความตอนหนึ่งว่าขณะนี้จำเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าจำเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทั้งเวลากลางวันและกลางคืน แต่โจทก์ก็มิได้ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3) จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ประสงค์จะให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3)อันเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 362 และ 363 เป็นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้ร้องทุกข์และได้ฟ้องคดีเองเมื่อพ้นกำหนดสามเดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องคดีบุกรุกที่ดิน: การขาดอายุความเนื่องจากไม่ร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน
จำเลยเข้าไปปักเสาและปลูกต้นมะขามในที่ดินของโจทก์ก็เพื่อถือการครอบครองที่ดินของโจทก์ ดังนั้น ความผิดฐานบุกรุกได้เกิดขึ้นและสำเร็จแล้วเมื่อจำเลยเข้าไปกระทำการดังกล่าว ส่วนการครอบครองที่ดินต่อมาเป็นเพียงผลของการบุกรุก การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดต่อเนื่องตราบเท่าที่จำเลยยังถือการครอบครองที่ดินของโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ถึง 10 สิงหาคม 2528 เวลาใดไม่ปรากฏชัด ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 โดยมิได้บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืน แม้จะมีข้อความตอนหนึ่งว่าขณะนี้จำเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าจำเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทั้งเวลากลางวันและกลางคืน แต่โจทก์ก็มิได้ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (3)จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ประสงค์จะให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (3) อันเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 เป็นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้ร้องทุกข์และได้ฟ้องคดีเองเมื่อพ้นกำหนดสามเดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2531)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ถึง 10 สิงหาคม 2528 เวลาใดไม่ปรากฏชัด ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 โดยมิได้บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืน แม้จะมีข้อความตอนหนึ่งว่าขณะนี้จำเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าจำเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทั้งเวลากลางวันและกลางคืน แต่โจทก์ก็มิได้ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (3)จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ประสงค์จะให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365 (3) อันเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 เป็นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้ร้องทุกข์และได้ฟ้องคดีเองเมื่อพ้นกำหนดสามเดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96
(วรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2531)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีบุกรุก เนื่องจากโจทก์มิได้ร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันรู้เรื่องความผิด
จำเลยเข้าไปปักเสาและปลูกต้นมะขามในที่ดินของโจทก์ก็เพื่อถือการครอบครองที่ดินของโจทก์ ดังนั้น ความผิดฐานบุกรุกได้เกิดขึ้นและสำเร็จแล้วเมื่อจำเลยเข้าไปกระทำการดังกล่าวส่วนการครอบครองที่ดินต่อมาเป็นเพียงผลของการบุกรุก การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดต่อเนื่องตราบเท่าที่จำเลยยังถือการครอบครองที่ดินของโจทก์
โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ถึง 10 สิงหาคม 2528เวลาใดไม่ปรากฏชัด ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362และ 363 โดยมิได้บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืน แม้จะมีข้อความตอนหนึ่งว่าขณะนี้จำเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าจำเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทั้งเวลากลางวันและกลางคืนแต่โจทก์ก็มิได้ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3)จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ประสงค์จะให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3) อันเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 เป็นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้ร้องทุกข์และได้ฟ้องคดีเองเมื่อพ้นกำหนดสามเดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96.(วรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2531)
โจทก์บรรยายฟ้องว่า เหตุเกิดระหว่างวันที่ 1 ถึง 10 สิงหาคม 2528เวลาใดไม่ปรากฏชัด ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362และ 363 โดยมิได้บรรยายฟ้องว่าเหตุเกิดเวลากลางคืน แม้จะมีข้อความตอนหนึ่งว่าขณะนี้จำเลยยังคงบุกรุกอยู่ ซึ่งพอเข้าใจได้ว่าจำเลยบุกรุกที่ดินตามฟ้องทั้งเวลากลางวันและกลางคืนแต่โจทก์ก็มิได้ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3)จึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ประสงค์จะให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 365(3) อันเป็นความผิดอาญาแผ่นดิน เมื่อความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 และ 363 เป็นความผิดอันยอมความกันได้ โจทก์มิได้ร้องทุกข์และได้ฟ้องคดีเองเมื่อพ้นกำหนดสามเดือนนับแต่วันรู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำความผิด คดีโจทก์จึงขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96.(วรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 8/2531)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 365/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกและทำให้เสียทรัพย์: ศาลวินิจฉัยตามคำขอเดิม ไม่เกินคำขอ แม้จะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณา
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานร่วมกันบุกรุกและทำให้เสียทรัพย์ การที่จะฟังว่าจำเลยกระทำความผิดฐานบุกรุกตามที่โจทก์ฟ้องหรือไม่นั้นจะต้องได้ความว่าที่พิพาทเป็นที่ดินของโจทก์ จำเลยจึงจะมีความผิดฐานบุกรุก หากที่พิพาทเป็นทางสาธารณะการกระทำของจำเลยก็ไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก การที่ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทเป็นทางสาธารณะ เป็นการวินิจฉัยตามข้อหาและคำขอท้ายฟ้องโจทก์ มิได้เกินคำขอ กรณีไม่เป็นการฝ่าฝืน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 ดังนั้นอุทธรณ์ของโจทก์ที่ว่าศาลชั้นต้นพิพากษาเกินคำขอ จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัย
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่าศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าทางพิพาทเป็นทางที่ประชาชนใช้ร่วมกันเกิน 10 ปี เป็นทางสาธารณะเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 34 ซึ่งห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้วัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นของวัดและที่ธรณีสงฆ์นั้น เท่ากับโจทก์อุทธรณ์โต้เถียงข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นที่ดินของโจทก์ แม้โจทก์จะอ้างข้อกฎหมายขึ้นปรับกับข้อเท็จจริงที่โต้เถียงดังกล่าว ก็ยังคงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 22
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่าศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าทางพิพาทเป็นทางที่ประชาชนใช้ร่วมกันเกิน 10 ปี เป็นทางสาธารณะเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 34 ซึ่งห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้วัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นของวัดและที่ธรณีสงฆ์นั้น เท่ากับโจทก์อุทธรณ์โต้เถียงข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นที่ดินของโจทก์ แม้โจทก์จะอ้างข้อกฎหมายขึ้นปรับกับข้อเท็จจริงที่โต้เถียงดังกล่าว ก็ยังคงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 22
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 365/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดิน: ศาลวินิจฉัยถูกต้องแล้วเมื่อพิจารณาว่าที่พิพาทเป็นทางสาธารณะ ไม่เกินคำขอ
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานร่วมกันบุกรุกและทำให้เสียทรัพย์ การที่จะฟังว่าจำเลยกระทำความผิดฐานบุกรุกตามที่โจทก์ฟ้องหรือไม่นั้นจะต้องได้ความว่าที่พิพาทเป็นที่ดินของโจทก์จำเลยจึงจะมีความผิดฐานบุกรุก หากที่พิพาทเป็นทางสาธารณะการกระทำของจำเลยก็ไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก การที่ศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทเป็นทางสาธารณะ เป็นการวินิจฉัยตามข้อหาและคำขอท้ายฟ้องโจทก์ มิได้เกินคำขอ กรณีไม่เป็นการฝ่าฝืน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 ดังนั้นอุทธรณ์ของโจทก์ที่ว่าศาลชั้นต้นพิพากษาเกินคำขอ จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัย
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่าศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าทางพิพาทเป็นทางที่ประชาชนใช้ร่วมกันเกิน 10 ปี เป็นทางสาธารณะเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 34 ซึ่งห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้วัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นของวัดและที่ธรณีสงฆ์นั้น เท่ากับโจทก์อุทธรณ์โต้เถียงข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นที่ดินของโจทก์ แม้โจทก์จะอ้างข้อกฎหมายขึ้นปรับกับข้อเท็จจริงที่โต้เถียงดังกล่าว ก็ยังคงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 22.
ที่โจทก์อุทธรณ์ว่าศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าทางพิพาทเป็นทางที่ประชาชนใช้ร่วมกันเกิน 10 ปี เป็นทางสาธารณะเป็นการขัดต่อพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 มาตรา 34 ซึ่งห้ามมิให้ยกอายุความขึ้นต่อสู้วัดในเรื่องทรัพย์สินอันเป็นของวัดและที่ธรณีสงฆ์นั้น เท่ากับโจทก์อุทธรณ์โต้เถียงข้อเท็จจริงว่าทางพิพาทมิใช่ทางสาธารณะแต่เป็นที่ดินของโจทก์ แม้โจทก์จะอ้างข้อกฎหมายขึ้นปรับกับข้อเท็จจริงที่โต้เถียงดังกล่าว ก็ยังคงเป็นอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง มาตรา 22.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4723/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินพิพาทหลังมีคำพิพากษา และการทำลายหลักเขตชั่วคราว ไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก
โจทก์จำเลยมีกรณีพิพาทฟ้องร้องแย่งสิทธิครอบครองที่นาพิพาทกันระหว่างพิจารณาคดีนั้นศาลอนุญาตให้จำเลยเข้าทำนาพิพาทโดยเสียค่าเช่าจำเลยย่อมมีสิทธิครอบครองที่พิพาทการที่จำเลยหว่านถั่วเขียวลงในที่นาพิพาทแม้หลังจากศาลฎีกาพิพากษาให้ขับไล่จำเลยออกจากที่นาพิพาทแล้วก็เป็นกรณีที่จำเลยไม่ยอมสละการครอบครองมิใช่เพิ่งเข้าไปครอบครองที่นาพิพาทในวันเวลาที่โจทก์ฟ้องการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก หลักไม้ที่จ่าศาลปักไว้ในที่พิพาทเพื่อการรังวัดสอบเขตตามคำสั่งศาลเป็นเครื่องหมายเขตที่ทำขึ้นเป็นสังเขปเพื่อประโยชน์แก่การบังคับคดีมิใช่เครื่องหมายเขตแห่งอสังหาริมทรัพย์การที่จำเลยถอนหลักไม้ดังกล่าวทิ้งจึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา363.