พบผลลัพธ์ทั้งหมด 609 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3969/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความชัดเจนของคำว่า 'ธารกำนัล' ในฟ้องข่มขืน และการบรรยายฟ้องที่เพียงพอตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
คำว่า "ธารกำนัล" ตามพจนานุกรมฯ หมายความว่า ที่ชุมนุมชนคนจำนวนมาก จึงเป็นถ้อยคำที่รู้กันอยู่ทั่วไป
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 281 มิได้บัญญัติถึงการกระทำอันเป็นความผิด และกำหนดโทษไว้ เพียงแต่บัญญัติว่าการกระทำความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก ถ้ามิได้เกิดต่อหน้าธารกำนัล เป็นความผิดอันยอมความได้จึงมิใช่บทกำหนดการกระทำอันเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ อันจะนำมาเป็นบทลงโทษจำเลยดังนั้นเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายโดยจำเลยกระทำต่อหน้าธารกำนัลเช่นนี้ย่อมเป็นที่รู้ว่าจำเลยกระทำผิดในที่ชุมนุมชนหรือต่อหน้าคนจำนวนมาก และเป็นการบรรยายว่าการกระทำของจำเลยมิใช่ความผิดอันยอมความได้ จึงเป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงแห่งการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดและรายละเอียดเกี่ยวข้องพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 281 มิได้บัญญัติถึงการกระทำอันเป็นความผิด และกำหนดโทษไว้ เพียงแต่บัญญัติว่าการกระทำความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก ถ้ามิได้เกิดต่อหน้าธารกำนัล เป็นความผิดอันยอมความได้จึงมิใช่บทกำหนดการกระทำอันเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ อันจะนำมาเป็นบทลงโทษจำเลยดังนั้นเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายโดยจำเลยกระทำต่อหน้าธารกำนัลเช่นนี้ย่อมเป็นที่รู้ว่าจำเลยกระทำผิดในที่ชุมนุมชนหรือต่อหน้าคนจำนวนมาก และเป็นการบรรยายว่าการกระทำของจำเลยมิใช่ความผิดอันยอมความได้ จึงเป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงแห่งการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดและรายละเอียดเกี่ยวข้องพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3969/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความชัดเจนของการบรรยายฟ้อง 'ต่อหน้าธารกำนัล' ในคดีข่มขืน จำเลยเข้าใจข้อหาได้
คำว่า "ธารกำนัล " ตามพจนานุกรมฯ หมายความว่า ที่ชุมนุมชนคนจำนวนมาก จึงเป็นถ้อยคำที่รู้กันอยู่ทั่วไป
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 281 มิได้บัญญัติถึงการกระทำอันเป็นความผิด และกำหนดโทษไว้ เพียงแต่บัญญัติว่าการกระทำความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก ถ้ามิได้เกิดต่อหน้าธารกำนัล เป็นความผิดอันยอมความได้ จึงมิใช่บทกำหนดการกระทำอันเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ อันจะนำมาเป็นบทลงโทษจำเลยดังนั้นเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายโดยจำเลยกระทำต่อหน้าธารกำนัลเช่นนี้ ย่อมเป็นที่รู้ว่าจำเลยกระทำผิดในที่ชุมนุมชนหรือต่อหน้าคนจำนวนมาก และเป็นการบรรยายว่าการกระทำของจำเลยมิใช่ความผิดอันยอมความได้ จึงเป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงแห่งการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดและรายละเอียดเกี่ยวข้องพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) แล้ว
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 281 มิได้บัญญัติถึงการกระทำอันเป็นความผิด และกำหนดโทษไว้ เพียงแต่บัญญัติว่าการกระทำความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก ถ้ามิได้เกิดต่อหน้าธารกำนัล เป็นความผิดอันยอมความได้ จึงมิใช่บทกำหนดการกระทำอันเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ อันจะนำมาเป็นบทลงโทษจำเลยดังนั้นเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยข่มขืนกระทำชำเราผู้เสียหายโดยจำเลยกระทำต่อหน้าธารกำนัลเช่นนี้ ย่อมเป็นที่รู้ว่าจำเลยกระทำผิดในที่ชุมนุมชนหรือต่อหน้าคนจำนวนมาก และเป็นการบรรยายว่าการกระทำของจำเลยมิใช่ความผิดอันยอมความได้ จึงเป็นฟ้องที่บรรยายถึงข้อเท็จจริงแห่งการกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิดและรายละเอียดเกี่ยวข้องพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158(5) แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3820/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิพากษาว่าแผงลอยในตลาดเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือไม่ พิจารณาจากลักษณะและคำฟ้อง
แผงลอยพิพาทอยู่ในตลาดซึ่งเป็นที่ขายของจำพวกอาหารมีลักษณะเป็นพื้นและฝากั้นแบ่งเป็นช่องๆ ซึ่งเป็นที่วางของขายบนพื้นดิน ประกอบกับคำฟ้องของโจทก์บรรยายว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันขนสินค้าเข้าไปขายในที่พิพาทอีกอันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ คำว่าที่พิพาทตามคำฟ้องจึงมีความหมายอยู่ในตัวว่าเป็นพื้นดินฉะนั้นแผงลอยพิพาทตามฟ้องจึงหมายถึงพื้นดินอันเป็นที่ตั้งของแผงลอย จึงเป็นอสังหาริมทรัพย์ มิใช่แผงลอยทั่วๆ ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3820/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองแผงลอยในตลาด: พิจารณาว่าเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือไม่
แผงลอยพิพาทอยู่ในตลาดซึ่งเป็นที่ขายของจำพวกอาหารมีลักษณะเป็นพื้นและฝากั้นแบ่งเป็นช่อง ๆ ซึ่งเป็นที่วางของขายบนพื้นดิน ประกอบกับคำฟ้องของโจทก์บรรยายว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันขนสินค้าเข้าไปขายในที่พิพาทอีกอันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของโจทก์ คำว่าที่พิพาทตามคำฟ้องจึงมีความหมายอยู่ในตัวว่าเป็นพื้นดิน ฉะนั้นแผงลอยพิพาทตามฟ้องจึงหมายถึงพื้นดินอันเป็นที่ตั้งของแผงลอยจึงเป็นอสังหาริมทรัพย์ มิใช่แผงลอยทั่วๆ ไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3651/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมจำกัดตามสัญญาประกันภัย แม้ไม่ได้อุทธรณ์ ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขได้
การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 2 รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมร่วมกับจำเลยที่ 1 เกินกว่าทุนทรัพย์ที่จำเลยที่ 2 แพ้คดีนั้น แม้จำเลยที่ 2 จะมิได้อุทธรณ์ไว้เพิ่งจะยกขึ้นในฎีกาก็ตาม ศาลฎีกาก็มีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงศาลล่างด้วยหากเห็นสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3651/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำกัดความรับผิดค่าฤชาธรรมเนียมตามสัญญาประกันภัย แม้ไม่ได้อุทธรณ์ ศาลฎีกามีอำนาจแก้ไขได้เพื่อความเป็นธรรม
การที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 2 รับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมร่วมกับจำเลยที่ 1 เกินกว่าทุนทรัพย์ที่จำเลยที่ 2 แพ้คดีนั้น แม้จำเลยที่ 2 จะมิได้อุทธรณ์ไว้เพิ่งจะยกขึ้นในฎีกาก็ตาม ศาลฎีกาก็มีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงศาลล่างด้วยหากเห็นสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3628/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียกร้องค่าเสียหายจากการไม่สมรส: ต้องมีสัญญาหมั้นจึงจะฟ้องได้ตามกฎหมาย
เมื่อชายหญิงมิได้ทำการหมั้นต่อกัน ฝ่ายหญิงจึงไม่มีสิทธิเรียกค่าทดแทนต่อความเสียหายที่ได้รับ จากการที่ชายมิได้เข้าพิธีสมรสกับหญิงตามประเพณี เพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1439 และ 1440 บัญญัติให้เรียกค่าทดแทนจากฝ่ายผิดสัญญาได้เฉพาะที่มีสัญญาหมั้นต่อกันเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3546/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อการทุจริตของลูกน้อง: ละเมิด-สัญญาจ้าง-ตัวแทน
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 4 และที่ 6 ในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาของนายกิตติได้ประมาทเลินเล่อต่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบและคำสั่งที่โจทก์วางไว้ ละเลยไม่ควบคุมดูแลตรวจสอบการเก็บเงิน รับเงินและส่งเงินของนายกิตติผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจนเป็นเหตุให้นายกิตติ ทุจริตเบียดบังเงินค่าน้ำประปาและค่ามาตราวัดน้ำจำนวน 815,985.08 บาทของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ ทั้งผิดสัญญาจ้างและสัญญาตัวแทนเป็นที่เสียหายแก่โจทก์ ดังนี้เป็นคำบรรยายฟ้องที่ชัดแจ้งถึงสภาพแห่งข้อหา และข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาแล้วส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับที่นายกิตติเบียดบังอย่างไร จำเลยที่ 4 และที่ 6 ประมาทเลินเล่ออย่างไร โจทก์นำสืบได้ในชั้นพิจารณา
จำเลยที่ 4 และที่ 6 ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบของโจทก์ ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเบียดบังเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไป เป็นการประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์และต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์เท่าที่โจทก์เสียหายไป
ระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได้กำหนดตัวผู้บังคับบัญชาที่จะต้องรับผิดร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในกรณีที่มีการทุจริตทำให้เสียหายมิใช่กฎหมาย ดังนั้น จะถือว่าผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปกระทำละเมิดต่อโจทก์โดยเด็ดขาดเสมอไปมิได้ การกระทำใด ๆจะเป็นละเมิดหรือไม่ต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420
บรรยายฟ้องว่าจำเลยประมาทเลินเล่อปล่อยให้นายกิตติยักยอกเงินของโจทก์ไป แต่นำสืบว่า นายกิตติซึ่งมีหน้าที่จ่ายใบเสร็จรับเงินให้พนักงานอื่นไปเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำประปาได้เอาใบเสร็จรับเงินไปเก็บเงินเสียเองแล้วเบียดบังเอาเงินนั้นไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว ไม่เป็นการนำสืบนอกฟ้อง
จำเลยที่ 4 และที่ 6 ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบของโจทก์ ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเบียดบังเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไป เป็นการประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์และต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์เท่าที่โจทก์เสียหายไป
ระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได้กำหนดตัวผู้บังคับบัญชาที่จะต้องรับผิดร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในกรณีที่มีการทุจริตทำให้เสียหายมิใช่กฎหมาย ดังนั้น จะถือว่าผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปกระทำละเมิดต่อโจทก์โดยเด็ดขาดเสมอไปมิได้ การกระทำใด ๆจะเป็นละเมิดหรือไม่ต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420
บรรยายฟ้องว่าจำเลยประมาทเลินเล่อปล่อยให้นายกิตติยักยอกเงินของโจทก์ไป แต่นำสืบว่า นายกิตติซึ่งมีหน้าที่จ่ายใบเสร็จรับเงินให้พนักงานอื่นไปเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำประปาได้เอาใบเสร็จรับเงินไปเก็บเงินเสียเองแล้วเบียดบังเอาเงินนั้นไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว ไม่เป็นการนำสืบนอกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3546/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้บังคับบัญชาต่อการทุจริตของลูกน้อง: ละเมิด-สัญญา
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยที่ 4 และที่ 6 ในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาของนายกิตติได้ประมาทเลินเล่อต่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบและคำสั่งที่โจทก์วางไว้ ละเลยไม่ควบคุมดูแลตรวจสอบการเก็บเงิน รับเงินและส่งเงินของนายกิตติผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจนเป็นเหตุให้นายกิตติทุจริตเบียดบังเงินค่าน้ำประปาและค่ามาตราวัดน้ำจำนวน 815,985.08 บาทของโจทก์ไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ ทั้งผิดสัญญาจ้างและสัญญาตัวแทนเป็นที่เสียหายแก่โจทก์ ดังนี้เป็นคำบรรยายฟ้องที่ชัดแจ้งถึงสภาพแห่งข้อหา และข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาแล้ว ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับที่นายกิตติเบียดบังอย่างไร จำเลยที่ 4 และที่ 6 ประมาทเลินเล่ออย่างไร โจทก์นำสืบได้ในชั้นพิจารณา
จำเลยที่ 4 และที่ 6 ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบของโจทก์ ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเบียดบังเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไป เป็นการประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์และต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์เท่าที่โจทก์เสียหายไป
ระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได้กำหนดตัวผู้บังคับบัญชาที่จะต้องรับผิดร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในกรณีที่มีการทุจริตทำให้เสียหายมิใช่กฎหมาย ดังนั้น จะถือว่าผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปกระทำละเมิดต่อโจทก์โดยเด็ดขาดเสมอไปมิได้ การกระทำใด ๆจะเป็นละเมิดหรือไม่ต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 420
บรรยายฟ้องว่าจำเลยประมาทเลินเล่อปล่อยให้นายกิตติยักยอกเงินของโจทก์ไป แต่นำสืบว่า นายกิตติซึ่งมีหน้าที่จ่ายใบเสร็จรับเงินให้พนักงานอื่นไปเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำประปาได้เอาใบเสร็จรับเงินไปเก็บเงินเสียเองแล้วเบียดบังเอาเงินนั้นไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว ไม่เป็นการนำสืบนอกฟ้อง
จำเลยที่ 4 และที่ 6 ปล่อยปละละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบของโจทก์ ทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุจริตเบียดบังเอาเงินค่าน้ำประปาของโจทก์ไป เป็นการประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติงานตามหน้าที่เป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย จึงเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์และต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์เท่าที่โจทก์เสียหายไป
ระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีที่ได้กำหนดตัวผู้บังคับบัญชาที่จะต้องรับผิดร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในกรณีที่มีการทุจริตทำให้เสียหายมิใช่กฎหมาย ดังนั้น จะถือว่าผู้บังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปกระทำละเมิดต่อโจทก์โดยเด็ดขาดเสมอไปมิได้ การกระทำใด ๆจะเป็นละเมิดหรือไม่ต้องเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 420
บรรยายฟ้องว่าจำเลยประมาทเลินเล่อปล่อยให้นายกิตติยักยอกเงินของโจทก์ไป แต่นำสืบว่า นายกิตติซึ่งมีหน้าที่จ่ายใบเสร็จรับเงินให้พนักงานอื่นไปเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำประปาได้เอาใบเสร็จรับเงินไปเก็บเงินเสียเองแล้วเบียดบังเอาเงินนั้นไปเป็นประโยชน์ต่อส่วนตัว ไม่เป็นการนำสืบนอกฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3430/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ไม้แปรรูปตามกฎหมายป่าไม้: ลักษณะการติดตั้งที่ไม่ถาวร ทำให้ไม้ดังกล่าวเข้าข่ายเป็นไม้แปรรูป
ไม้ของกลางที่รื้อมาจากบ้านของจำเลยบางส่วน เฉพาะส่วนที่เป็นฝาชั้นบนและชั้นล่างหนา 1 นิ้วบ้าง 5 กระเบียดบ้าง ไม่ได้ไสกบ และตีตะปูไว้เพียงหัวท้าย สามารถรื้อออกจากตัวบ้านได้ง่าย ไม้ฝาชั้นล่างก็เพียงตีทาบไว้ระหว่างเสาไม้ ไม่มีลักษณะเป็นฝาที่ป้องกันอะไรได้ ส่วนที่เป็นไม้พื้นก็ไม่มีลักษณะเป็นไม้พื้นถาวร ไม่อยู่ภายในกรอบของตัวบ้านไม้ของกลางมีลักษณะเป็นไม้ที่อยู่ในสภาพพรางว่าเป็นสิ่งปลูกสร้าง หรืออยู่ในสภาพสิ่งปลูกสร้างอันไม่ชอบด้วยลักษณะสิ่งปลูกสร้างทั่ว ๆ ไป จึงเป็นไม้แปรรูป