พบผลลัพธ์ทั้งหมด 293 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2979/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เอกสารปลอมราชการก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยแล้ว
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่า จำเลยใช้เอกสารปลอมในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชนและลงโทษ จำเลยยืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นจำเลยฎีกาว่ามิได้ใช้เอกสารปลอม ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน เป็น การฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ซึ่งต้องห้ามศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
บัตรประจำตัวข้าราชการ เป็นเอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทำขึ้น ในหน้าที่การปลอมเอกสารดังกล่าว เป็นการปลอมเอกสารราชการ
บัตรประจำตัวข้าราชการ เป็นเอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทำขึ้น ในหน้าที่การปลอมเอกสารดังกล่าว เป็นการปลอมเอกสารราชการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2979/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เอกสารปลอมราชการในประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังแล้ว
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงมาแล้วว่า จำเลยใช้เอกสารปลอมในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน และลงโทษจำเลยยืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นจำเลยฎีกาว่ามิได้ใช้เอกสารปลอมในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชนเป็นการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ซึ่งต้องห้ามศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
บัตรประจำตัวข้าราชการ เป็นเอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทำขึ้นในหน้าที่การปลอมเอกสารดังกล่าว เป็นการปลอมเอกสารราชการ
บัตรประจำตัวข้าราชการ เป็นเอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทำขึ้นในหน้าที่การปลอมเอกสารดังกล่าว เป็นการปลอมเอกสารราชการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2971/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่อนุญาตเลื่อนคดีและการพิจารณาคดีโดยไม่ถือว่าเป็นการขาดนัดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ในวันนัดพิจารณาสืบพยานโจทก์ จำเลยยื่นคำร้องขอเลื่อนศาลชั้นต้นไม่อนุญาตและให้สืบพยานโจทก์ไป แล้วนัดสืบพยานจำเลย ดังนี้ เป็นเรื่องจำเลยขอเลื่อนการพิจารณาแต่ศาลไม่อนุญาต ทั้งศาลก็มิได้สั่งให้จำเลยขาดนัดพิจารณาแล้วให้พิจารณาไปฝ่ายเดียวถือไม่ได้ว่าเป็นการพิจารณาโดยขาดนัด จำเลยจะขอให้พิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 207 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2971/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่อนุญาตเลื่อนคดีและการพิจารณาคดีต่อไป ไม่ถือเป็นการขาดนัดตามกฎหมาย
ในวันนัดพิจารณาสืบพยานโจทก์ จำเลยยื่นคำร้องขอเลื่อน ศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้สืบพยานโจทก์ไป แล้วนัดสืบพยานจำเลย ดังนี้ เป็นเรื่องจำเลยขอเลื่อนการพิจารณาแต่ศาลไม่อนุญาต ทั้งศาลก็มิได้สั่งให้จำเลยขาดนัดพิจารณา แล้วให้พิจารณาไปฝ่ายเดียวถือไม่ได้ว่าเป็นการพิจารณาโดยขาดนัด จำเลยจะขอให้พิจารณาใหม่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 207 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2920/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝากทรัพย์ - ความรับผิดของผู้รับฝาก - การใช้ความระมัดระวังในการเก็บรักษาสินค้า - ความเสียหายจากอุณหภูมิไม่เหมาะสม
จำเลยรับเก็บรักษาลำใยในห้องเย็นของจำเลย จำเลยเป็นผู้มีวิชาชีพเฉพาะกิจการค้าทางห้องเย็น ต้องใช้ความระวังและฝีมืออันเป็นธรรมดาและสมควรในกิจการห้องเย็น จำเลยใช้ความเย็นไม่พอ ลำใยของโจทก์เน่าเสีย จำเลยต้องใช้ค่าเสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2806/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายของนายจ้าง & อายุความเรียกร้องหนี้ภาษี กรณีล้มละลาย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 29,30 ได้กำหนดกฎเกณฑ์และวิธีการในการอุทธรณ์การประเมินภาษีของเจ้าพนักงานประเมิน และการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลแล้ว กล่าวคือให้โอกาสแก่ผู้เสียภาษีปฏิบัติได้เป็นขั้นตอนเมื่อผู้เสียภาษีไม่เห็นด้วยกับการประเมินก็ใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์วินิจฉัยอุทธรณ์แล้วผู้เสียภาษียังไม่เห็นด้วยก็ยังมีสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลได้ภายในเวลาที่กำหนดไว้ จะนำคดีมาฟ้องร้องหรือต่อสู้คดีต่อศาลโดยไม่ได้ยื่นอุทธรณ์ตามวิธีการดังกล่าวเสียก่อนหาได้ไม่
จำเลยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของตนตามประมวลรัษฎากรมาตรา 50 และต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่จะต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่งดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54 จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้ มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยอุทธรณ์การประเมินของเจ้าพนักงาน จำเลยจึงต้องผูกพันเป็นลูกหนี้ตามที่เจ้าพนักงานทำการประเมินโดยแห่งบทบัญญัติของประมวลรัษฎากรไม่อาจยกขึ้นต่อสู้ได้ว่าเจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินไม่ชอบ จำเลยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายเพราะลูกจ้างมีเงินรายได้พึงประเมินแต่ละปีไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษี
ค่าภาษีอากรประจำปี พ.ศ. 2508 เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ ภายในเดือนมีนาคม 2509 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 56 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2516 มาตรา 7 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้ในขณะนั้น เจ้าหนี้ยื่นฟ้องต่อศาลให้ลูกหนี้รับผิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2518 จึงเป็นการใช้สิทธิภายในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 167 และอายุความย่อมสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ต่อมาเมื่อลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ศาลจึงจำหน่ายคดีของเจ้าหนี้ อายุความจึงเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ศาลสั่งจำหน่ายคดี เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2519 หนี้ของเจ้าหนี้จึงยังไม่ขาดอายุความ
จำเลยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของตนตามประมวลรัษฎากรมาตรา 50 และต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่จะต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่งดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54 จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้ มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยอุทธรณ์การประเมินของเจ้าพนักงาน จำเลยจึงต้องผูกพันเป็นลูกหนี้ตามที่เจ้าพนักงานทำการประเมินโดยแห่งบทบัญญัติของประมวลรัษฎากรไม่อาจยกขึ้นต่อสู้ได้ว่าเจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินไม่ชอบ จำเลยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายเพราะลูกจ้างมีเงินรายได้พึงประเมินแต่ละปีไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษี
ค่าภาษีอากรประจำปี พ.ศ. 2508 เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ ภายในเดือนมีนาคม 2509 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 56 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2516 มาตรา 7 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้ในขณะนั้น เจ้าหนี้ยื่นฟ้องต่อศาลให้ลูกหนี้รับผิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2518 จึงเป็นการใช้สิทธิภายในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 167 และอายุความย่อมสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ต่อมาเมื่อลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ศาลจึงจำหน่ายคดีของเจ้าหนี้ อายุความจึงเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ศาลสั่งจำหน่ายคดี เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2519 หนี้ของเจ้าหนี้จึงยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2806/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย, อายุความภาษีอากร, การรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 29,30 ได้กำหนดกฎเกณฑ์และวิธีการในการอุทธรณ์การประเมินภาษีอากรของเจ้าพนักงานประเมิน และการอุทธรณ์คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลแล้ว กล่าวคือให้โอกาสแก่ผู้เสียภาษีปฏิบัติได้เป็นขั้นตอนเมื่อผู้เสียภาษีไม่เห็นด้วยกับการประเมินก็ใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์วินิจฉัยอุทธรณ์แล้วผู้เสียภาษียังไม่เห็นด้วยก็ยังมีสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลได้ภายในเวลาที่กำหนดไว้ จำนำคดีมาฟ้องร้องหรือต่อสู้คดีต่อศาลโดยไม่ได้ยื่นอุทธรณ์ตามวิธีการดังกล่าวเสียก่อนหาได้ไม่
จำเลยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของตนตามประมวลกฎรัษฎากรมาตรา 50 และต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่จะต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่งดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54 จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้ มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยอุทธรณ์การประเมินของเจ้าพนกังาน จำเลยจึงต้องผูกพันเป็นลูกหนี้ตามที่เจ้าพนักงานทำการประเมินโดยผลแห่งบทบัญญัติของประมวลรัษฎากรไม่อาจจะยกขึ้นต่อสู้ได้ว่าเจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินไม่ชอบ จำเลยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายเพราะลูกจ้างมีเงินรายได้พึงประเมินแต่ละปีไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษี
ค่าภาษีอากรประจำปี พ.ศ.2508 เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ ภายในเดือนมีนาคม 2509 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 56 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2516 มาตรา 7 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้ในขณะนั้น เจ้าหนี้ยื่นฟ้องต่อศาลให้ลูกหนี้รับผิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2518 จึงเป็นการใช้สิทธิภายในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 167 และอายุความย่อมสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ต่อมาเมื่อลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์เด็ดขาด ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีของเจ้าหนี้ อายุความจึงเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ศาลสั่งจำหน่ายคดี เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2519 หนี้ของเจ้าหนี้จึงยังไม่ขาดอายุความ
จำเลยมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ไว้ทุกคราวที่จ่ายเงินได้พึงประเมินให้แก่ลูกจ้างของตนตามประมวลกฎรัษฎากรมาตรา 50 และต้องรับผิดร่วมกับลูกจ้างผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่จะต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่งดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 54 จึงมีฐานะเช่นเดียวกับผู้มีเงินได้ มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยอุทธรณ์การประเมินของเจ้าพนกังาน จำเลยจึงต้องผูกพันเป็นลูกหนี้ตามที่เจ้าพนักงานทำการประเมินโดยผลแห่งบทบัญญัติของประมวลรัษฎากรไม่อาจจะยกขึ้นต่อสู้ได้ว่าเจ้าพนักงานประเมินทำการประเมินไม่ชอบ จำเลยไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายเพราะลูกจ้างมีเงินรายได้พึงประเมินแต่ละปีไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษี
ค่าภาษีอากรประจำปี พ.ศ.2508 เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ ภายในเดือนมีนาคม 2509 ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 56 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2516 มาตรา 7 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้ในขณะนั้น เจ้าหนี้ยื่นฟ้องต่อศาลให้ลูกหนี้รับผิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2518 จึงเป็นการใช้สิทธิภายในกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 167 และอายุความย่อมสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ต่อมาเมื่อลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์เด็ดขาด ศาลจึงสั่งจำหน่ายคดีของเจ้าหนี้ อายุความจึงเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ศาลสั่งจำหน่ายคดี เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2519 หนี้ของเจ้าหนี้จึงยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2794-2795/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างต้องรับผิดในผลละเมิดของลูกจ้างที่ขับรถในทางการที่จ้าง แม้มีระเบียบภายในและผู้ตายมีผู้ดูแล
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถยนต์ประจำทางให้กับบริษัทจำเลยที่ 2 ตอนเกิดเหตุรถชนกันจำเลยที่ 1 ได้ขับรถไปส่งพนักงานของบริษัทจำเลยที่ 2 ตามบ้านแม้มีระเบียบของบริษัทว่าเมื่อพนักงานขับรถนำรถเข้ามาในบริษัทนำลูกกุญแจไปแขวนไว้แล้ว จะนำรถออกไปอีกต้องรับอนุญาตจากผู้จัดการก่อน ระเบียบดังกล่าวเป็นระเบียบปฏิบัติภายใน จะนำมาใช้ยันบุคคลภายนอกไม่ได้ทั้งระเบียบที่ว่านี้ก็มิได้ปฏิบัติเคร่งครัดถือได้ว่าการนำรถออกไปส่งพนักงานของบริษัทฯ อยู่ในระหว่างปฏิบัติงานทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2
เรื่องค่าขาดไร้อุปการะ แม้จะมีคนอื่นอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ หรือโจทก์มีฐานะดีไม่ได้รับความเดือดร้อนโจทก์ก็มีสิทธิจะได้รับค่าสินไหมทดแทน
เรื่องค่าขาดไร้อุปการะ แม้จะมีคนอื่นอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ หรือโจทก์มีฐานะดีไม่ได้รับความเดือดร้อนโจทก์ก็มีสิทธิจะได้รับค่าสินไหมทดแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2794-2795/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างต้องรับผิดต่อละเมิดของลูกจ้างที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ และสิทธิค่าขาดไร้อุปการะแม้มีผู้เลี้ยงดู
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างขับรถยนต์ประจำทางให้กับบริษัทจำเลยที่ 2 ตอนเกิดเหตุรถชนกันจำเลยที่ 1 ได้ขับรถไปส่งพนักงานของบริษัทจำเลยที่ 2 ตามบ้านแม้มีระเบียบของบริษัทว่าเมื่อพนักงานขับรถนำรถเข้ามาในบริษัทนำลูกกุญแจไปแขวนไว้แล้วจะนำรถออกไปอีกต้องรับอนุญาตจากผู้จัดการก่อน ระเบียบดังกล่าวเป็นระเบียบปฏิบัติภายใน จะนำมาใช้ยันบุคคลภายนอกไม่ได้ ทั้งระเบียบที่ว่านี้ก็มิได้ปฏิบัติเคร่งครัดถือได้ว่าการนำรถออกไปส่งพนักงานของบริษัทฯ อยู่ในระหว่างปฏิบัติงานทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2
เรื่องค่าขาดไร้อุปการะ แม้จะมีคนอื่นอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ หรือโจทก์มีฐานะดีไม่ได้รับความเดือนร้อน โจทก์ก็มีสิทธิจะได้รับค่าสินไหมทดแทน
เรื่องค่าขาดไร้อุปการะ แม้จะมีคนอื่นอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ หรือโจทก์มีฐานะดีไม่ได้รับความเดือนร้อน โจทก์ก็มีสิทธิจะได้รับค่าสินไหมทดแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2785/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกันและสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี: การคิดดอกเบี้ยทบต้นตามบัญชีเดินสะพัด
จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันจำเลยที่ 1 โดยรับผิดร่วมยอมชำระหนี้ตลอดจนดอกเบี้ยและเงื่อนไขตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีที่จำเลยที่ 1 ทำไว้กับโจทก์ ซึ่งให้ถือยอดเงินตามบัญชีกระแสรายวันและให้เอาดอกเบี้ยทบต้นเป็นรายเดือน จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ในหนี้ที่ค้างชำระพร้อมดอกเบี้ยทบต้น แม้ในช่วงเวลาที่สัญญาเบิกเงินเกินบัญชีครบกำหนดแล้ว แต่บัญชีกระแสรายวันของจำเลยที่ 1 ยังคงเดินสะพัดอยู่จนกว่าจะเลิกสัญญากัน