พบผลลัพธ์ทั้งหมด 108 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1699/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาลวงและนิติกรรมอำพราง: ต้องมีสมรู้ร่วมใจและเจตนาปกปิดนิติกรรมที่แท้จริง
การแสดงเจตนาลวงที่จะตกเป็นโมฆะ จะต้องเป็นการแสดงเจตนาที่ทำขึ้นโดยความประสงค์ร่วมกันของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย ที่จะไม่ให้ผูกพันกัน หรืออีกนัยหนึ่ง จะต้องปรากฏว่ามีการสมรู้กันระหว่างคู่กรณีในการแสดงเจตนาลวงนั้น
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่ง เพื่อปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
กรณีที่จะเกิดมีนิติกรรมอำพรางขึ้นนั้น จะต้องเนื่องมาจากการที่บุคคลสองฝ่ายตกลงจะทำนิติกรรมอันหนึ่ง แต่กลับแสร้งทำเป็นนิติกรรมอีกอันหนึ่ง เพื่อปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมที่ทั้งสองฝ่ายตกลงจะทำกันโดยเจตนาอันแท้จริง จึงให้บังคับกันตามนิติกรรมที่ถูกอำพรางซึ่งเป็นเจตนาอันแท้จริงของคู่กรณี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1618/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีสินค้าสำเร็จรูปและวัตถุดิบ: การตีความตามประมวลรัษฎากรและการวินิจฉัยสินค้าประเภทต่างๆ
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่18) พ.ศ.2504 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ขณะที่โจทก์นำหัวน้ำเชื้อสะระแหน่ หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม และขี้ผึ้งที่ได้จากพืชเข้ามาในราชอาณาจักร ได้บัญญัติจำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ในมาตรา 77 และในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภท 1 ชนิด 9 ก็ได้บัญญัติถึงสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูป อันเป็นการแสดงว่าเจตนารมณ์ของประมวลรัษฎากรในขณะนั้นต้องการเก็บภาษีการค้าสำหรับสินค้าสำเร็จรูป และสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปแตกต่างกัน กล่าวคือถ้าสินค้าที่นำเข้ามาเป็นสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปและกรณีต้องด้วยบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภท 1 ชนิด 9 ก็ต้องเสียภาษีการค้าตามที่ระบุไว้ในบัญชีอัตราภาษีการค้านั้น แต่ถ้านำสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายแล้ว ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้าส่วนสินค้าสำเร็จรูปนั้นถ้ามีการนำเข้ามาก็จะต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้าในทุกกรณีไม่ว่าจะนำเข้ามาเพื่อการใด (อ้างฎีกาที่ 1176/2521)
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวให้คำจำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ว่าหมายความว่าสินค้าซึ่งตามสภาพการอุปโภคบริโภคได้โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ฉะนั้น ในการพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือไม่ จึงจำต้องพิเคราะห์ถึงสภาพแห่งการใช้ของสินค้านั้น ๆ เป็นแต่ละชนิด ๆ ไปว่าสามารถนำไปอุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีหรือไม่ เมื่อได้ความว่าหัวน้ำเชื้อสะระแหน่ หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม จะนำไปอุปโภคหรือบริโภคโดยไม่ผสมกับสิ่งอื่นไม่ได้ เพราะแรงไป หากนำไปบริโภคโดยไม่เจือปนจะกัดลิ้น ฉุนและจาม เป็นอันตรายแก่ร่างกายดังนี้ ต้องถือว่าหัวน้ำเชื้อทั้งสามชนิดไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป ส่วนขี้ผึ้งที่ได้จากพืชนั้นนำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก จึงถือได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป
โจทก์สั่งขี้ผึ้งที่ได้จากพืชซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปเข้ามาผลิตสินค้าของโจทก์เองแม้จะมิได้สั่งเข้ามาเพื่อขายหรือยังมิได้ขาย โจทก์ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้า 1 การขายของชนิด 1 ก.(อ้างฎีกาที่ 1176/2521) ส่วนหัวน้ำเชื้อทั้ง 3 ชนิดซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปนั้น เมื่อโจทก์สั่งเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายโจทก์ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวให้คำจำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ว่าหมายความว่าสินค้าซึ่งตามสภาพการอุปโภคบริโภคได้โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ฉะนั้น ในการพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือไม่ จึงจำต้องพิเคราะห์ถึงสภาพแห่งการใช้ของสินค้านั้น ๆ เป็นแต่ละชนิด ๆ ไปว่าสามารถนำไปอุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีหรือไม่ เมื่อได้ความว่าหัวน้ำเชื้อสะระแหน่ หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม จะนำไปอุปโภคหรือบริโภคโดยไม่ผสมกับสิ่งอื่นไม่ได้ เพราะแรงไป หากนำไปบริโภคโดยไม่เจือปนจะกัดลิ้น ฉุนและจาม เป็นอันตรายแก่ร่างกายดังนี้ ต้องถือว่าหัวน้ำเชื้อทั้งสามชนิดไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป ส่วนขี้ผึ้งที่ได้จากพืชนั้นนำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก จึงถือได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป
โจทก์สั่งขี้ผึ้งที่ได้จากพืชซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปเข้ามาผลิตสินค้าของโจทก์เองแม้จะมิได้สั่งเข้ามาเพื่อขายหรือยังมิได้ขาย โจทก์ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้า 1 การขายของชนิด 1 ก.(อ้างฎีกาที่ 1176/2521) ส่วนหัวน้ำเชื้อทั้ง 3 ชนิดซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปนั้น เมื่อโจทก์สั่งเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายโจทก์ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1618/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีสินค้าสำเร็จรูปและวัตถุดิบนำเข้า การพิจารณาตามสภาพการใช้งานและเจตนารมณ์ของกฎหมาย
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ.2504 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ที่โจทก์นำหัวน้ำเชื้อสะระแหน่ หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม และขี่ผึ้งที่ได้จากพืชเข้ามาในราชอาณาจักร ได้บัญญัติ จำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ในมาตรา 77 และในบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภท 1 ชนิด 9 ก็ได้บัญญัติถึงสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูป อันเป็นการแสดงว่าเจตนารมณ์ของประมวลรัษฎากรในขณะนั้นต้องการเก็บภาษีการค้าสำหรับสินค้าสำเร็จรูป และสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปแตกต่างกัน กล่าวคือถ้าสินค้าที่นำเข้ามาเป็นสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปและกรณีต้องด้วยบัญชีอัตราภาษีการค้าประเภท 1 ชนิด 9 ก็ต้องเสียภาษีการค้าตามที่ระบุไว้ในบัญชีอัตราภาษีการค้านั้น แต่ถ้านำสินค้าที่มิใช่สินค้าสำเร็จรูปเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายแล้ว ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้า ส่วนสินค้าสำเร็จรูปนั้นถ้ามีการนำเข้ามาก็จะต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้าในทุกกรณีไม่ว่าจะนำเข้ามาเพื่อการใด (อ้างฎีกาที่ 1176/2521)
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ให้คำจำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ว่า หมายความว่าสินค้าซึ่งตามสภาพการอุปโภคบริโภคได้โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ฉะนั้น ในการพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือไม่ จึงจำต้องพิเคราะห์ถึงสภาพแห่งการใช้ของสินค้านั้น ๆ เป็นแต่ละชนิดไปว่าสามารถนำไปอุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีหรือไม่ เมื่อได้ความว่าหัวน้ำเชื้อสระแหน่หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม จะนำไปอุปโภคหรือบริโภคโดยไม่ผสมกับสิ่งอื่นไม่ได้ เพราะแรงไป หากนำไปบริโภคโดยไม่เจือปนจะกัดลิ้น ฉุนและจาม เป็นอันตรายแก่ร่างกาย ดังนี้ ต้องถือว่าหัวน้ำเชื้อทั้งสามชนิดไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป ส่วนขี้ผึ้งที่ได้จากพืชนั้นทำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ได้งเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก จึงถือได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป
โจทก์สั่งขี้ผึ้งที่ได้จากพืชซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปเข้ามาผลิตสินค้าของโจทก์เองแม้จะมิได้สั่งเข้ามาเพื่อขายหรือยังมิได้ขาย โจทก์ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้า 1 การขายของชนิด 1 ก. (อ้างฎีกาที่ 1176/2521) ส่วนหัวน้ำเชื้อทั้ง 3 ชนิดซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปนั้น เมื่อโจทก์สั่งเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายโจทก์ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
มาตรา 77 แห่งประมวลรัษฎากรซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว ให้คำจำกัดความคำว่า "สินค้าสำเร็จรูป" ไว้ว่า หมายความว่าสินค้าซึ่งตามสภาพการอุปโภคบริโภคได้โดยไม่จำต้องเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือนำไปผสมกับสิ่งอื่น ฉะนั้น ในการพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นสินค้าสำเร็จรูปหรือไม่ จึงจำต้องพิเคราะห์ถึงสภาพแห่งการใช้ของสินค้านั้น ๆ เป็นแต่ละชนิดไปว่าสามารถนำไปอุปโภคหรือบริโภคได้ทันทีหรือไม่ เมื่อได้ความว่าหัวน้ำเชื้อสระแหน่หัวน้ำเชื้อมะนาว หัวน้ำเชื้อส้ม จะนำไปอุปโภคหรือบริโภคโดยไม่ผสมกับสิ่งอื่นไม่ได้ เพราะแรงไป หากนำไปบริโภคโดยไม่เจือปนจะกัดลิ้น ฉุนและจาม เป็นอันตรายแก่ร่างกาย ดังนี้ ต้องถือว่าหัวน้ำเชื้อทั้งสามชนิดไม่เป็นสินค้าสำเร็จรูป ส่วนขี้ผึ้งที่ได้จากพืชนั้นทำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ได้งเปลี่ยนหรือดัดแปลงหรือผสมกับสิ่งใดอีก จึงถือได้ว่าเป็นสินค้าสำเร็จรูป
โจทก์สั่งขี้ผึ้งที่ได้จากพืชซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปเข้ามาผลิตสินค้าของโจทก์เองแม้จะมิได้สั่งเข้ามาเพื่อขายหรือยังมิได้ขาย โจทก์ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีการค้าตามบัญชีอัตราภาษีการค้า 1 การขายของชนิด 1 ก. (อ้างฎีกาที่ 1176/2521) ส่วนหัวน้ำเชื้อทั้ง 3 ชนิดซึ่งเป็นสินค้าสำเร็จรูปนั้น เมื่อโจทก์สั่งเข้ามาเป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตเพื่อขายโจทก์ก็ไม่ต้องเสียภาษีการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1460/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานฟ้องเท็จและเบิกความเท็จ: ความเท็จต้องเป็นองค์ประกอบการกระทำความผิด หรือข้อสำคัญในคดี
ความเท็จที่นำไปฟ้องอันจะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 175 นั้น ต้องเป็นความเท็จในเรื่องที่เป็นองค์ประกอบของการกระทำความผิดอาญา เมื่อจำเลยได้ฟ้องโจทก์ในคดีก่อนกล่าวหาว่าโจทก์ออำเช็คและธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินองค์ประกอบของการกระทำที่จำเลยฟ้องโจทก์ คือการที่โจทก์ออกเช็คและธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น การที่โจทก์หรือผู้หนึ่งผู้ใดนำเอาเช็คดังกล่าวไปเข้าบัญชี เพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็ค มิใช่เป็นองค์ประกอบในการกระทำความผิดที่จำเลยฟ้อง ดังนั้นการที่จำเลยกล่าวในฟ้องว่าจำเลยนำเช็คไปเข้าบัญชี เพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็ค แม้จะไม่เป็นความจริง จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานฟ้องเท็จ แต่ในข้อหาฐานเบิกความเท็จนั้น ในเรื่องที่ว่าผู้ใดนำเช็คเข้าบัญชี เพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็คนั้นย่อมเป็นข้อสำคัญในคดี เพราะผู้นำเช็คไปเข้าบัญชีย่อมเป็นผู้ทรง เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็ค ผู้นั้นย่อมเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องผู้ออกเช็คได้ ฉะนั้น เมื่อจำเลยเบิกความอันเป็นเท็จว่าเป็นผู้นำเช็คเข้าบัญชี ซึ่งความจริงจำเลยได้ขายลดเช็คนั้นไปแล้ว จำเลยย่อมมีความผิดฐานเบิกความเท็จได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1460/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
องค์ประกอบความผิดฟ้องเท็จ vs. เบิกความเท็จ: ข้อสำคัญในคดีเช็ค
ความเท็จที่นำไปฟ้อง อันจะเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 175 นั้น ต้องเป็นความเท็จในเรื่องที่เป็นองค์ประกอบของการกระทำความผิดอาญา เมื่อจำเลยได้ฟ้องโจทก์ในคดีก่อนกล่าวหาว่าโจทก์ออกเช็คและธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงิน องค์ประกอบของการกระทำที่จำเลยฟ้องโจทก์ คือการที่โจทก์ออกเช็คและธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น การที่โจทก์หรือผู้หนึ่งผู้ใดนำเอาเช็คดังกล่าวไปเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็ค มิใช่เป็นองค์ประกอบในการกระทำความผิดที่จำเลยฟ้อง ดังนั้นการที่จำเลยกล่าวในฟ้องว่าจำเลยนำเช็คไปเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็ค แม้จะไม่เป็นความจริง จำเลยก็ไม่มีความผิดฐานฟ้องเท็จ แต่ในข้อหาฐานเบิกความเท็จนั้นในเรื่องที่ว่าผู้ใดนำเช็คเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็คนั้นย่อมเป็นข้อสำคัญในคดี เพราะผู้นำเช็คไปเข้าบัญชีย่อมเป็นผู้ทรง เมื่อธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็ค ผู้นั้นย่อมเป็นผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องผู้ออกเช็คได้ฉะนั้น เมื่อจำเลยเบิกความอันเป็นเท็จว่าเป็นผู้นำเช็คเข้าบัญชี ซึ่งความจริงจำเลยได้ขายลดเช็คนั้นไปแล้วจำเลยย่อมมีความผิดฐานเบิกความเท็จได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1452/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลสั่งงดบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 292 และ 293
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 292 บัญญัติให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดีในกรณีต่าง ๆ หลายกรณีด้วยกัน และโดยเฉพาะใน (2) ได้บัญญัติไว้ว่า "ถ้าศาลได้มีคำสั่งให้งดการบังคับคดีไว้" แสดงว่า มาตรานี้มิใช่บทบัญญัติกำหนดหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดีอย่างเดียว แต่ได้บัญญัติให้อำนาจศาลในอันที่จะมีคำสั่งงดการบังคับคดีได้เมื่อเห็นสมควรไว้ด้วย ส่วนประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 นั้น เป็นบทบัญญัติที่ให้อำนาจศาลสั่งงดการบังคับคดีได้ ในเมื่อลูกหนี้ตามคำพิพากษาได้ยื่นฟ้องเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นอีกคดีเรื่องหนึ่ง ซึ่งลูกหนี้ตามคำพิพากษาอาจจะชนะคดี และนำหนี้นั้นมาหักกลบลบกันกับหนี้ตามคำพิพากษาที่กำลังบังคับคดีกันอยู่ แต่มิใช่ว่าศาลจะมีอำนาจสั่งงดการบังคับคดีได้เฉพาะกรณีตามมาตรา 293 เพียงกรณีเดียว หากมีกรณีอื่นที่กฎหมายบัญญัติให้ศาลสั่งงดการบังคับคดีได้ดังเช่นที่มาตรา 292(2) บัญญัติไว้ ศาลก็ย่อมมีอำนาจสั่งงดการบังคับคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1452/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลสั่งงดบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 292 และ 293 ไม่จำกัดเฉพาะกรณีที่กฎหมายบัญญัติ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 292 บัญญัติให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดีในกรณีต่าง ๆ หลายกรณีด้วยกัน และโดยเฉพาะใน (2) ได้บัญญัติไว้ว่า " ถ้าศาลได้มีคำสั่งให้งดการบังคับคดีไว้ ..." แสดงว่า มาตรานี้มิใช่บทบัญญัติกำหนดหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับอย่างเดียว แต่ได้บัญญัติให้อำนาจศาลในอันที่จะมีคำสั่งงดการบังคับคดีได้เมื่อเห็นสมควรไว้ด้วย ส่วนประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 293 นั้น เป็นบทบัญญัติที่ให้อำนาจศาลสั่งงดการบังคับคดีได้ ในเมื่อลูกหนี้ตามคำพิพากษาได้ยื่นฟ้องเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาเป็นอีกคดีเรื่องหนึ่ง ซึ่งลูกหนี้ตามคำพิพากษาอาจจะชนะคดี และนำหนี้นั้นมาหักกลบลบหนี้ตามคำพิพากษาที่กำลังบังคับคดีกันอยู่ แต่มิใช่ว่าศาลจะมีอำนาจสั่งงดการบังคับคดีได้เฉพาะกรณีตามมาตรา 293 เพียงกรณีเดียว หากมีกรณีอื่นที่กฎหมายบัญญัติให้ศาลสั่งงดการบังคับคดีได้ ดังเช่นที่มาตรา 292(2) บัญญัติไว้ ศาลก็ย่อมมีอำนาจสั่งงดการบังคับคดีได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1449/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่ง ก.ล.ร. ไม่เป็นที่สุด โจทก์ยังมีสิทธิฟ้องเพิกถอน แม้ปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว
จำเลยฎีกาว่าคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์เป็นที่สุดทั้งโจทก์ได้ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นแล้ว เป็นเหตุให้คดีระงับไปตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 126 โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ดังนี้ เป็นฎีกาในปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จำเลยก็ฎีกาในปัญหาข้อนี้ได้
คำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 125 ไม่มีบทบัญญัติให้เป็นที่สุด คำสั่งดังกล่าวจึงไม่เป็นที่สุด การที่โจทก์ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นมีผลเพียงให้การดำเนินคดีอาญาต่อโจทก์เป็นอันระงับไปตามมาตรา 126 เท่านั้นหามีผลให้สิทธิของโจทก์ในอันที่จะฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งนั้น ระงับไปด้วยไม่
คำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 มาตรา 125 ไม่มีบทบัญญัติให้เป็นที่สุด คำสั่งดังกล่าวจึงไม่เป็นที่สุด การที่โจทก์ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นมีผลเพียงให้การดำเนินคดีอาญาต่อโจทก์เป็นอันระงับไปตามมาตรา 126 เท่านั้นหามีผลให้สิทธิของโจทก์ในอันที่จะฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งนั้น ระงับไปด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1449/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไม่เป็นที่สุด โจทก์มีสิทธิฟ้องเพิกถอน แม้ปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว
จำเลยฎีกาว่าคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์เป็นที่สุด ทั้งโจทก์ได้ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นแล้ว เป็นเหตุให้คดีระงับไปตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 126 โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง ดังนี้เป็นฎีกาในปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยจะมิได้ยกขึ้นว่ากล่าวในชั้นอุทธรณ์ จำเลยก็ฎีกาในปัญหาข้อนี้ได้
คำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. มาตรา 125 ไม่มีบทบัญญัติให้เป็นที่สุด คำสั่งดังกล่าวจึงไม่เป็นที่สุด การที่โจทก์ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นมีผลเพียงให้การดำเนินคดีอาญาต่อโจทก์เป็นอันระงับตามมาตรา 126 เท่านั้น หามีผลให้สิทธิของโจทก์ในอันที่จะฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งนั้นระงับไปด้วยไม่
คำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. มาตรา 125 ไม่มีบทบัญญัติให้เป็นที่สุด คำสั่งดังกล่าวจึงไม่เป็นที่สุด การที่โจทก์ปฏิบัติตามคำสั่งนั้นมีผลเพียงให้การดำเนินคดีอาญาต่อโจทก์เป็นอันระงับตามมาตรา 126 เท่านั้น หามีผลให้สิทธิของโจทก์ในอันที่จะฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งนั้นระงับไปด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1319/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีอาญาต่อ นิติบุคคล ไม่ต้องขออนุญาตอัยการเมื่อพ้นกำหนดเวลาตามกฎหมาย
ในกรณีที่ผู้ต้องหาเป็นนิติบุคคล ซึ่งไม่มีการจับกุมตัวผู้ต้องหา ไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง ตามที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2517 มาตรา 5 และไม่มีกรณีจะต้องขอรับอนุญาตจากอธิบดีกรมอัยการ ในการฟ้องคดีเมื่อพ้นกำหนดเวลาตามมาตรา 7 ดังที่มาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวกำหนดไว้ด้วย
กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยจะไม่มีการจับกุม เพราะนิติบุคคลไม่อยู่ในสภาพที่จะให้จับกุมได้ คงให้ใช้วิธีออกหมายเรียกผู้จัดการ หรือผู้แทนของนิติบุคคลมาเพื่อการสอบสวนหรือพิจารณา แล้วแต่กรณี
กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยจะไม่มีการจับกุม เพราะนิติบุคคลไม่อยู่ในสภาพที่จะให้จับกุมได้ คงให้ใช้วิธีออกหมายเรียกผู้จัดการ หรือผู้แทนของนิติบุคคลมาเพื่อการสอบสวนหรือพิจารณา แล้วแต่กรณี