พบผลลัพธ์ทั้งหมด 479 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3342/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจบังคับรื้อถอนอาคารผิดกฎหมาย แม้กฎหมายเปลี่ยน ก็ยังใช้ได้หากเจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ดำเนินการ
พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2479 และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ในส่วนที่บัญญัติถึงการรื้อถอนและแก้ไขเปลี่ยนแปลงอาคารที่สร้างขึ้นโดยฝ่าฝืนกฎหมายเป็นวิธีการบังคับคดีในส่วนแพ่งเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
หลักกฎหมายที่ว่ากฎหมายไม่มีผลย้อนหลังไม่ใช้ในกรณีที่เป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
จำเลยกระทำผิดต่อพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯแต่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา 11 ทวิ รื้อถอนอาคารนั้นเอง จนกระทั่งกฎหมายฉบับนี้ถูกยกเลิกไปโดยใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 แทนต่อมากฎหมายฉบับใหม่ยังคงบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดอยู่ และให้อำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งให้รื้อถอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอาคารได้ เพียงแต่จะใช้อำนาจรื้อถอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเองไม่ได้เท่านั้น เมื่อปรากฏว่าจำเลยยังไม่ได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่สั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาท เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจร้องขอต่อศาลให้บังคับให้มีการรื้อถอนได้
หลักกฎหมายที่ว่ากฎหมายไม่มีผลย้อนหลังไม่ใช้ในกรณีที่เป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
จำเลยกระทำผิดต่อพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯแต่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา 11 ทวิ รื้อถอนอาคารนั้นเอง จนกระทั่งกฎหมายฉบับนี้ถูกยกเลิกไปโดยใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 แทนต่อมากฎหมายฉบับใหม่ยังคงบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดอยู่ และให้อำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งให้รื้อถอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอาคารได้ เพียงแต่จะใช้อำนาจรื้อถอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเองไม่ได้เท่านั้น เมื่อปรากฏว่าจำเลยยังไม่ได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่สั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาท เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจร้องขอต่อศาลให้บังคับให้มีการรื้อถอนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3342/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กฎหมายวิธีสบัญญัติใช้บังคับย้อนหลังในเรื่องรื้อถอนอาคารได้ แม้กฎหมายสารบัญญัติใช้ไม่ได้
พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2479 และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ในส่วนที่บัญญัติถึงการรื้อถอนและแก้ไขเปลี่ยนแปลงอาคารที่สร้างขึ้นโดยฝ่าฝืนกฎหมายเป็นวิธีการบังคับคดีในส่วนแพ่งเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
หลักกฎหมายที่ว่ากฎหมายไม่มีผลย้อนหลังไม่ใช้ในกรณีที่เป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
จำเลยกระทำผิดต่อพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯแต่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา 11 ทวิรื้อถอนอาคารนั้นเอง จนกระทั่งกฎหมายฉบับนี้ถูกยกเลิกไปโดยใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 แทนต่อมากฎหมายฉบับใหม่ยังคงบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดอยู่ และให้อำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งให้รื้อถอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอาคารได้ เพียงแต่จะใช้อำนาจรื้อถอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเองไม่ได้เท่านั้น เมื่อปรากฏว่าจำเลยยังไม่ได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่สั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาท เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจร้องขอต่อศาลให้บังคับให้มีการรื้อถอนได้
หลักกฎหมายที่ว่ากฎหมายไม่มีผลย้อนหลังไม่ใช้ในกรณีที่เป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ
จำเลยกระทำผิดต่อพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร ฯแต่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นยังมิได้ใช้อำนาจตามมาตรา 11 ทวิรื้อถอนอาคารนั้นเอง จนกระทั่งกฎหมายฉบับนี้ถูกยกเลิกไปโดยใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 แทนต่อมากฎหมายฉบับใหม่ยังคงบัญญัติว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดอยู่ และให้อำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่นสั่งให้รื้อถอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขอาคารได้ เพียงแต่จะใช้อำนาจรื้อถอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเองไม่ได้เท่านั้น เมื่อปรากฏว่าจำเลยยังไม่ได้ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่สั่งให้รื้อถอนอาคารพิพาท เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอำนาจร้องขอต่อศาลให้บังคับให้มีการรื้อถอนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1532/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งคำสั่งศาลที่อนุญาตให้ระบุพยานเพิ่มเติมหลังสืบพยานเสร็จสิ้น และผลของการไม่โต้แย้งคำสั่งระหว่างพิจารณา
เมื่อจำเลยยื่นคำร้องขอระบุพยานเพิ่มเติม ศาลชั้นต้นสั่งว่าสำเนาให้โจทก์สั่งในรายงาน และตามรายงานกระบวนพิจารณาศาลชั้นต้นจดว่า "ทนายโจทก์ได้รับสำเนาคำร้องแล้วแถลงคัดค้านว่า จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม เมื่อโจทก์สืบพยานของโจทก์เสร็จสิ้นไปแล้วเป็นการไม่ชอบ ศาลไม่ควรรับ.... พิเคราะห์แล้วอนุญาตให้จำเลยยื่นระบุพยานเพิ่มเติมได้ตามขอ' คำแถลงของโจทก์เช่นนี้เป็นการแถลงคัดค้านคำร้องของจำเลยที่ขอระบุพยานเพิ่มเติม เพื่อประกอบดุลพินิจในการที่ศาลจะมีคำสั่งคำร้องดังกล่าวต่อไปเท่านั้น ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการโต้แย้งคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น ที่อนุญาตให้จำเลยระบุพยานเพิ่มเติม เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งคำสั่งดังกล่าวไว้ จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1532/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งคำสั่งศาลระหว่างพิจารณาและการห้ามอุทธรณ์ตามมาตรา 226 ว.พ.พ. การแถลงคัดค้านคำร้องไม่ถือเป็นการโต้แย้งคำสั่ง
เมื่อจำเลยยื่นคำร้องขอระบุพยานเพิ่มเติม ศาลชั้นต้นสั่งว่าสำเนาให้โจทก์สั่งในรายงาน และตามรายงานกระบวนพิจารณาศาลชั้นต้นจดว่า 'ทนายโจทก์ได้รับสำเนาคำร้องแล้วแถลงคัดค้านว่า จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม เมื่อโจทก์สืบพยานของโจทก์เสร็จสิ้นไปแล้วเป็นการไม่ชอบ ศาลไม่ควรรับ พิเคราะห์แล้วอนุญาตให้จำเลยยื่นระบุพยานเพิ่มเติมได้ตามขอ' คำแถลงของโจทก์เช่นนี้เป็นการแถลงคัดค้านคำร้องของจำเลยที่ขอระบุพยานเพิ่มเติม เพื่อประกอบดุลพินิจในการที่ศาลจะมีคำสั่งคำร้องดังกล่าวต่อไปเท่านั้น ยังถือไม่ได้ว่าเป็นการโต้แย้งคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น ที่อนุญาตให้จำเลยระบุพยานเพิ่มเติม เมื่อโจทก์ไม่ได้โต้แย้งคำสั่งดังกล่าวไว้ จึงต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1468/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าพาหนะไม่เป็นค่าจ้าง, การทำงานวันหยุดตามธรรมเนียมปฏิบัติ และการวินิจฉัยข้อกฎหมายโดยมิได้มีการอุทธรณ์
ค่าพาหนะที่จำเลยจ่ายให้โจทก์เฉพาะวันที่โจทก์ไปทำงานแม้จะมีจำนวนเท่ากันทุกเดือน ก็ไม่ถือว่าเป็นค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน
บริษัทจำเลยมีธรรมเนียมปฏิบัติว่า เลขานุการมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ตามวันซึ่งบุคคลผู้ที่ตนทำหน้าที่เป็นเลขานุการหยุดพักผ่อนประจำปี และจำเลยได้วางระเบียบไว้ว่าจำเลยจะไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างที่มาทำงานในวันหยุดโดยจำเลยมิได้ขอให้มาทำงาน ดังนั้นการที่โจทก์มาทำงานในวันที่บุคคลผู้ที่โจทก์เป็นเลขานุการหยุดเป็นบางวันโดยจำเลยมิได้ขอให้โจทก์มาทำ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยให้โจทก์ทำงานในวันหยุดพักผ่อน อันจำเลยจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน
ปัญหาว่าศาลวินิจฉัยคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้คู่ความมิได้อุทธรณ์ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
บริษัทจำเลยมีธรรมเนียมปฏิบัติว่า เลขานุการมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ตามวันซึ่งบุคคลผู้ที่ตนทำหน้าที่เป็นเลขานุการหยุดพักผ่อนประจำปี และจำเลยได้วางระเบียบไว้ว่าจำเลยจะไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างที่มาทำงานในวันหยุดโดยจำเลยมิได้ขอให้มาทำงาน ดังนั้นการที่โจทก์มาทำงานในวันที่บุคคลผู้ที่โจทก์เป็นเลขานุการหยุดเป็นบางวันโดยจำเลยมิได้ขอให้โจทก์มาทำ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยให้โจทก์ทำงานในวันหยุดพักผ่อน อันจำเลยจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน
ปัญหาว่าศาลวินิจฉัยคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้คู่ความมิได้อุทธรณ์ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1468/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าพาหนะไม่ใช่ค่าจ้าง, การทำงานในวันหยุดตามธรรมเนียมปฏิบัติ และการวินิจฉัยข้อกฎหมายโดยศาลฎีกา
ค่าพาหนะที่จำเลยจ่ายให้โจทก์เฉพาะวันที่โจทก์ไปทำงานแม้จะมีจำนวนเท่ากันทุกเดือน ก็ไม่ถือว่าเป็นค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน
บริษัทจำเลยมีธรรมเนียมปฏิบัติว่า เลขานุการมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ตามวันซึ่งบุคคลผู้ที่ตนทำหน้าที่เป็นเลขานุการหยุดพักผ่อนประจำปี และจำเลยได้วางระเบียบไว้ว่าจำเลยจะไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างที่มาทำงานในวันหยุดโดยจำเลยมิได้ขอให้มาทำงาน ดังนั้นการที่โจทก์มาทำงานในวันที่บุคคลผู้ที่โจทก์เป็นเลขานุการหยุดเป็นบางวัน โดยจำเลยมิได้ขอให้โจทก์มาทำ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยให้โจทก์ทำงานในวันหยุดพักผ่อนอันจำเลยจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้โจทก์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน
ปัญหาว่าศาลวินิจฉัยคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความ เป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้คู่ความมิได้อุทธรณ์ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
บริษัทจำเลยมีธรรมเนียมปฏิบัติว่า เลขานุการมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ตามวันซึ่งบุคคลผู้ที่ตนทำหน้าที่เป็นเลขานุการหยุดพักผ่อนประจำปี และจำเลยได้วางระเบียบไว้ว่าจำเลยจะไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างที่มาทำงานในวันหยุดโดยจำเลยมิได้ขอให้มาทำงาน ดังนั้นการที่โจทก์มาทำงานในวันที่บุคคลผู้ที่โจทก์เป็นเลขานุการหยุดเป็นบางวัน โดยจำเลยมิได้ขอให้โจทก์มาทำ จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยให้โจทก์ทำงานในวันหยุดพักผ่อนอันจำเลยจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดให้โจทก์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน
ปัญหาว่าศาลวินิจฉัยคดีไม่ชอบด้วยกฎหมายวิธีพิจารณาความ เป็นข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้คู่ความมิได้อุทธรณ์ศาลฎีกาก็ยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1397/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงยอมรับความรับผิดค่าเสียหายยุติประเด็นความประมาท
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 และที่ 2 ซึ่งเป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 ขับรถยนต์โดยประมาทชนรถโจทก์เสียหายปรากฏว่า กรณีเดียวกันนี้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ถูกอัยการฟ้องต่อศาลทหารว่า ขับรถยนต์โดยประมาทเป็นเหตุให้โจทก์กับพวกได้รับอันตรายแก่กายและอันตรายสาหัส ศาลทหารพิพากษาลงโทษจำเลยคดีถึงที่สุด แล้วโจทก์จำเลยแถลงศาลและศาลจดรายงานไว้ว่าฝ่ายโจทก์มีส่วนประมาทอยู่ด้วย ตกลงกันให้ฝ่ายโจทก์จำเลยนำหลักฐานมา แสดงจำนวนค่าเสียหายเมื่อหักจำนวนค่าเสียหายของจำเลยจากค่าเสียหายของโจทก์แล้ว เหลือเท่าใด จำเลยยอมใช้เป็นจำนวนค่าเสียหายซึ่งจะต้องรับผิดต่อโจทก์ ดังนี้ ตามที่ศาลจดรายงานดังกล่าว ถือได้ว่าโจทก์จำเลยตกลงสละประเด็นข้อพิพาทข้ออื่น ๆ โดยเฉพาะข้อที่ว่าเหตุเกิดเพราะความประมาทของฝ่ายใดเสียแล้ว ข้อเท็จจริงที่ว่าฝ่ายใดประมาทจึงยุติคงมีประเด็นเรื่องค่าเสียหายตามข้อตกลงของคู่ความเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ตามคำพิพากษาหลังพิทักษ์ทรัพย์: มูลหนี้เดิมเกิดขึ้นก่อนวันพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้มีสิทธิรับชำระ
แม้เจ้าหนี้จะยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งตัดสินหลังวันพิทักษ์ทรัพย์แต่คำพิพากษานั้นได้แสดงถึงมูลหนี้เดิมอยู่แล้วว่าเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ย่อมถือได้ว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ขอรับชำระดังกล่าวมูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้อาจขอรับชำระหนี้ได้ตามมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1384/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ตามคำพิพากษาหลังพิทักษ์ทรัพย์: ศาลอนุญาตชำระได้หากมูลหนี้เกิดก่อน
แม้เจ้าหนี้จะยื่นคำขอรับชำระหนี้ตามคำพิพากษาซึ่งตัดสินหลังวันพิทักษ์ทรัพย์แต่คำพิพากษานั้นได้แสดงถึงมูลหนี้เดิมอยู่แล้วว่าเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ย่อมถือได้ว่าหนี้ตามคำพิพากษาที่เจ้าหนี้ขอรับชำระดังกล่าวมูลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้อาจขอรับชำระหนี้ได้ตามมาตรา 94 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 4/2525)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1363/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบหมายให้ลูกจ้างไปทำงานบริษัทอื่นถือเป็นการเลิกจ้าง
การที่จำเลยให้โจทก์ไปทำงานกับอีกบริษัทหนึ่ง แม้การทำงานของโจทก์ในบริษัทใหม่ จะเป็นการทำงานเช่นเดิม ในสถานที่เดิม ก็เป็นงานของบริษัทใหม่ โจทก์มิได้ทำงานให้จำเลย ถือว่าจำเลยให้โจทก์ออกจากงาน อันเป็นการเลิกจ้างโจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงาน