พบผลลัพธ์ทั้งหมด 8 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 675/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย: เบี้ยเลี้ยงเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างในการคำนวณค่าทดแทน
โจทก์ฟ้องว่า ผู้ตายซึ่งเป็นพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันลูกจ้างของโจทก์ขับรถเร็วเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด จนรถคว่ำถึงแก่ความตาย เป็นการจงใจฝ่าฝืนกฎหมาย โจทก์จึงไม่ต้องรับผิดจ่ายค่าทดแทนให้แก่ทายาทของผู้ตาย แต่จำเลยให้การปฏิเสธและต่อสู้ว่า ผู้ตายขับรถโดยประมาทปราศจากความระมัดระวัง มิใช่กระทำโดยจงใจฝ่าฝืนกฎหมาย เพราะไม่มีเหตุผลประการใดที่ผู้ตายจะจงใจกระทำในเรื่องที่มีผลให้ตนต้องถึงแก่ความตาย ดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบข้อเท็จจริงตามข้ออ้างในฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ ย่อมรับฟังตามที่โจทก์อ้างไม่ได้
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 3 ให้คำนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้ หมายความถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง ไม่ว่าสินจ้างนั้นจะเรียกชื่อหรือคำนวณอย่างไรก็ตาม แต่ไม่รวมถึงค่าล่วงเวลาค่าล่วงเวลาในวันหยุด โบนัส หรือผลประโยชน์อย่างอื่นที่มีลักษณะเป็นการสงเคราะห์ลูกจ้าง ผู้ตายเป็นลูกจ้างขับรถบรรทุกน้ำมันของโจทก์ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 350 บาทและเบี้ยเลี้ยงถัวเฉลี่ยเดือนละ 957.60 บาท เงินเดือนที่ผู้ตายได้รับนั้นเป็นอัตราที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นค่าจ้างในปัจจุบัน และไม่ได้ส่วนสัดกับงานของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน ส่วนเบี้ยเลี้ยงนั้น โจทก์จ่ายให้แก่พนักงานขับรถเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งโดยคำนวณตามเวลาที่ทำงานให้แก่โจทก์ซึ่งสมควรแก่ปริมาณงานที่ทำ จึงถือได้ว่าเบี้ยเลี้ยงนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสินจ้างที่โจทก์จ่ายให้แก่ผู้ตายในฐานะเป็นลูกจ้างเช่นเดียวกับเงินเดือน เพราะฉะนั้น 'เบี้ยเลี้ยง' จึงเป็น 'ค่าจ้าง' ตามนัยของประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว หาใช่เป็นเงินสงเคราะห์ลูกจ้างที่ต้องมีภาระเพิ่มขึ้นเพราะต้องทำงานนอกสถานที่ไม่
ประมวลรัษฎากรกับประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวเป็นกฎหมายคนละประเภทและมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ทั้งไม่มีเหตุผลพิเศษที่แสดงให้เห็นว่าผู้ร่างกฎหมายต้องการใช้คำว่า 'เบี้ยเลี้ยง' 'ค่าจ้าง' ในกฎหมายสองฉบับนั้นให้มีความหมายตรงกันการตีความคำเหล่านี้จึงต้องตีความไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายแต่ละฉบับที่ปรากฏในตัวบทกฎหมายนั้นๆ เองโดยเฉพาะประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวได้ให้คำนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้เพื่อการคำนวณค่าทดแทนอยู่แล้ว การตีความคำว่า 'ค่าจ้าง' ในเรื่องเงินค่าทดแทน จึงต้องเป็นไปตามคำนิยามนั้น (จะอ้างประมวลรัษฎากรมาประกอบการตีความว่าเบี้ยเลี้ยงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้อย่างค่าจ้าง จึงถือว่าเป็นค่าจ้างไม่ได้นั้นหาได้ไม่)
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 3 ให้คำนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้ หมายความถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง ไม่ว่าสินจ้างนั้นจะเรียกชื่อหรือคำนวณอย่างไรก็ตาม แต่ไม่รวมถึงค่าล่วงเวลาค่าล่วงเวลาในวันหยุด โบนัส หรือผลประโยชน์อย่างอื่นที่มีลักษณะเป็นการสงเคราะห์ลูกจ้าง ผู้ตายเป็นลูกจ้างขับรถบรรทุกน้ำมันของโจทก์ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 350 บาทและเบี้ยเลี้ยงถัวเฉลี่ยเดือนละ 957.60 บาท เงินเดือนที่ผู้ตายได้รับนั้นเป็นอัตราที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นค่าจ้างในปัจจุบัน และไม่ได้ส่วนสัดกับงานของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน ส่วนเบี้ยเลี้ยงนั้น โจทก์จ่ายให้แก่พนักงานขับรถเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งโดยคำนวณตามเวลาที่ทำงานให้แก่โจทก์ซึ่งสมควรแก่ปริมาณงานที่ทำ จึงถือได้ว่าเบี้ยเลี้ยงนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสินจ้างที่โจทก์จ่ายให้แก่ผู้ตายในฐานะเป็นลูกจ้างเช่นเดียวกับเงินเดือน เพราะฉะนั้น 'เบี้ยเลี้ยง' จึงเป็น 'ค่าจ้าง' ตามนัยของประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว หาใช่เป็นเงินสงเคราะห์ลูกจ้างที่ต้องมีภาระเพิ่มขึ้นเพราะต้องทำงานนอกสถานที่ไม่
ประมวลรัษฎากรกับประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวเป็นกฎหมายคนละประเภทและมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ทั้งไม่มีเหตุผลพิเศษที่แสดงให้เห็นว่าผู้ร่างกฎหมายต้องการใช้คำว่า 'เบี้ยเลี้ยง' 'ค่าจ้าง' ในกฎหมายสองฉบับนั้นให้มีความหมายตรงกันการตีความคำเหล่านี้จึงต้องตีความไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายแต่ละฉบับที่ปรากฏในตัวบทกฎหมายนั้นๆ เองโดยเฉพาะประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวได้ให้คำนิยามคำว่า 'ค่าจ้าง' ไว้เพื่อการคำนวณค่าทดแทนอยู่แล้ว การตีความคำว่า 'ค่าจ้าง' ในเรื่องเงินค่าทดแทน จึงต้องเป็นไปตามคำนิยามนั้น (จะอ้างประมวลรัษฎากรมาประกอบการตีความว่าเบี้ยเลี้ยงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้อย่างค่าจ้าง จึงถือว่าเป็นค่าจ้างไม่ได้นั้นหาได้ไม่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 675/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย: เบี้ยเลี้ยงรวมเป็นค่าจ้างในการคำนวณค่าทดแทน
โจทก์ฟ้องว่า ผู้ตายซึ่งเป็นพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมันลูกจ้างของโจทก์ ขับรถเร็วเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด จนรถคว่ำถึงแก่ความตาย เป็นการจงใจฝ่าฝืนกฎหมาย โจทก์จึงไม่ต้องรับผิดจ่ายค่าทดแทนให้แก่ทายาทของผู้ตาย แต่จำเลยให้การปฏิเสธและต่อสู้ว่า ผู้ตายขับรถโดยประมาทปราศจากความระมัดระวัง มิใช่กระทำโดยจงใจฝ่าฝืนกฎหมาย เพราะไม่มีเหตุผลประการใดที่ผู้ตายจะจงใจกระทำในเรื่องที่มีผลให้ตนต้องถึงแก่ความตาย ดังนี้ เป็นหน้าที่ของโจทก์ที่จะต้องนำสืบข้อเท็จจริงตามข้ออ้างในฟ้อง เมื่อโจทก์ไม่นำสืบ ย่อมรับฟังตามที่โจทก์อ้างไม่ได้
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯข้อ 3 ให้คำนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ไว้ หมายความถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง ไม่ว่าสินจ้างนั้นจะเรียกชื่อหรือคำนวณอย่างไรก็ตามแต่ไม่รวมถึงค่าล่วงเวลาค่าล่วงเวลาในวันหยุด โบนัส หรือผลประโยชน์อย่างอื่นที่มีลักษณะเป็นการสงเคราะห์ลูกจ้าง ผู้ตายเป็นลูกจ้างขับรถบรรทุกน้ำมันของโจทก์ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 350 บาทและเบี้ยเลี้ยงถัวเฉลี่ยเดือนละ 957.60 บาท เงินเดือนที่ผู้ตายได้รับนั้นเป็นอัตราที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นค่าจ้างในปัจจุบัน และไม่ได้ส่วนสัดกับงานของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน ส่วนเบี้ยเลี้ยงนั้น โจทก์จ่ายให้แก่พนักงานขับรถเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งโดยคำนวณตามเวลาที่ทำงานให้แก่โจทก์ซึ่งสมควรแก่ปริมาณงานที่ทำ จึงถือได้ว่าเบี้ยเลี้ยงนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสินจ้างที่โจทก์จ่ายให้แก่ผู้ตายในฐานะเป็นลูกจ้างเช่นเดียวกับเงินเดือน เพราะฉะนั้น "เบี้ยเลี้ยง" จึงเป็น "ค่าจ้าง" ตามนัยของประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว หาใช่เป็นเงินสงเคราะห์ลูกจ้างที่ต้องมีภาระเพิ่มขึ้นเพราะต้องทำงานนอกสถานที่ไม่
ประมวลรัษฎากรกับประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวเป็นกฎหมายคนละประเภทและมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ทั้งไม่มีเหตุผลพิเศษที่แสดงให้เห็นว่าผู้ร่างกฎหมายต้องการใช้คำว่า "เบี้ยเลี้ยง" และคำว่า "ค่าจ้าง" ในกฎหมายสองฉบับนั้นให้มีความหมายตรงกันการตีความคำเหล่านี้จึงต้องตีความไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายแต่ละฉบับที่ปรากฏในตัวบทกฎหมายนั้นๆ เองโดยเฉพาะประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวได้ให้คำนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ไว้เพื่อการคำนวณค่าทดแทนอยู่แล้ว การตีความคำว่า "ค่าจ้าง" ในเรื่องเงินค่าทดแทน จึงต้องเป็นไปตามคำนิยามนั้น (จะอ้างประมวลรัษฎากรมาประกอบการตีความว่า เบี้ยเลี้ยงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้อย่างค่าจ้าง จึงถือว่าเป็นค่าจ้างไม่ได้นั้น หาได้ไม่)
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯข้อ 3 ให้คำนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ไว้ หมายความถึงสินจ้างที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง ไม่ว่าสินจ้างนั้นจะเรียกชื่อหรือคำนวณอย่างไรก็ตามแต่ไม่รวมถึงค่าล่วงเวลาค่าล่วงเวลาในวันหยุด โบนัส หรือผลประโยชน์อย่างอื่นที่มีลักษณะเป็นการสงเคราะห์ลูกจ้าง ผู้ตายเป็นลูกจ้างขับรถบรรทุกน้ำมันของโจทก์ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 350 บาทและเบี้ยเลี้ยงถัวเฉลี่ยเดือนละ 957.60 บาท เงินเดือนที่ผู้ตายได้รับนั้นเป็นอัตราที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็นค่าจ้างในปัจจุบัน และไม่ได้ส่วนสัดกับงานของพนักงานขับรถบรรทุกน้ำมัน ส่วนเบี้ยเลี้ยงนั้น โจทก์จ่ายให้แก่พนักงานขับรถเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งโดยคำนวณตามเวลาที่ทำงานให้แก่โจทก์ซึ่งสมควรแก่ปริมาณงานที่ทำ จึงถือได้ว่าเบี้ยเลี้ยงนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสินจ้างที่โจทก์จ่ายให้แก่ผู้ตายในฐานะเป็นลูกจ้างเช่นเดียวกับเงินเดือน เพราะฉะนั้น "เบี้ยเลี้ยง" จึงเป็น "ค่าจ้าง" ตามนัยของประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว หาใช่เป็นเงินสงเคราะห์ลูกจ้างที่ต้องมีภาระเพิ่มขึ้นเพราะต้องทำงานนอกสถานที่ไม่
ประมวลรัษฎากรกับประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวเป็นกฎหมายคนละประเภทและมีวัตถุประสงค์ต่างกัน ทั้งไม่มีเหตุผลพิเศษที่แสดงให้เห็นว่าผู้ร่างกฎหมายต้องการใช้คำว่า "เบี้ยเลี้ยง" และคำว่า "ค่าจ้าง" ในกฎหมายสองฉบับนั้นให้มีความหมายตรงกันการตีความคำเหล่านี้จึงต้องตีความไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายแต่ละฉบับที่ปรากฏในตัวบทกฎหมายนั้นๆ เองโดยเฉพาะประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกล่าวได้ให้คำนิยามคำว่า "ค่าจ้าง" ไว้เพื่อการคำนวณค่าทดแทนอยู่แล้ว การตีความคำว่า "ค่าจ้าง" ในเรื่องเงินค่าทดแทน จึงต้องเป็นไปตามคำนิยามนั้น (จะอ้างประมวลรัษฎากรมาประกอบการตีความว่า เบี้ยเลี้ยงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้อย่างค่าจ้าง จึงถือว่าเป็นค่าจ้างไม่ได้นั้น หาได้ไม่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1851/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องเรียกค่าทดแทน: โจทก์ผู้จ่ายค่าทดแทนให้พนักงานที่ถูกละเมิด ไม่มีอำนาจฟ้องเรียกจากผู้ละเมิด
เงินค่าทดแทนที่โจทก์ได้จ่ายให้แก่พนักงานของโจทก์ไปตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 และประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทน ฉบับลงวันที่ 20 ธันวาคม 2501 เนื่องจากพนักงานของโจทก์ได้รับบาดเจ็บในขณะปฏิบัติงานให้แก่โจทก์โดยถูกรถของจำเลยชนเอานั้น โจทก์จะมาฟ้องเรียกเอาจากจำเลยไม่ได้ เพราะโจทก์ไม่ได้เป็นผู้ถูกละเมิดทั้งตามประกาศคณะปฏิวัติและประกาศกระทรวงมหาดไทย ดังกล่าวก็ไม่ได้ให้สิทธิโจทก์ที่จะฟ้องเรียกเงินดังกล่าวเอาจากจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความที่ขัดต่อกฎหมายแรงงาน (ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19) เป็นโมฆะ
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 เป็นกฎหมายพิเศษเกี่ยวด้วยแรงงาน ซึ่งประกาศขึ้นใช้แทนพระราชบัญญัติแรงงาน พ.ศ.2499 มีวัตถุประสงค์เพื่อมิให้มีเหตุการณ์ต่างๆ อันเกิดจากความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้าง เป็นการคุ้มครองและอำนวยประโยชน์แก่ลูกจ้าง ทั้งป้องกันมิให้เกิดความระส่ำระสายในการเศรษฐกิจของประเทศและความสงบสุขของบ้านเมือง จึงเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ลูกจ้างของโจทก์ถึงแก่ความตายขณะปฏิบัติหน้าที่ โจทก์กับมารดาของผู้ตายได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความในเรื่องเงินค่าทดแทนกันไว้หากโจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง โจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนเป็นรายเดือน เดือนละ 200 บาท มีกำหนด 5 ปี คำนวณแล้วเป็นเงินถึง 12,000 บาท. แต่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความโจทก์จ่ายเงินเพียง 2,000 บาทเท่านั้น เป็นการหลีกเลี่ยงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้างสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับเงินค่าทดแทน จึงเป็นข้อตกลงที่ผิดแผกแตกต่างไปจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2516)
ลูกจ้างของโจทก์ถึงแก่ความตายขณะปฏิบัติหน้าที่ โจทก์กับมารดาของผู้ตายได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความในเรื่องเงินค่าทดแทนกันไว้หากโจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง โจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนเป็นรายเดือน เดือนละ 200 บาท มีกำหนด 5 ปี คำนวณแล้วเป็นเงินถึง 12,000 บาท. แต่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความโจทก์จ่ายเงินเพียง 2,000 บาทเท่านั้น เป็นการหลีกเลี่ยงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้างสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับเงินค่าทดแทน จึงเป็นข้อตกลงที่ผิดแผกแตกต่างไปจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความขัดกับกฎหมายแรงงาน (ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19) เป็นโมฆะ
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 เป็นกฎหมายพิเศษเกี่ยวด้วยแรงงานซึ่งประกาศขึ้นใช้แทนพระราชบัญญัติแรงงาน พ.ศ.2499 มีวัตถุประสงค์เพื่อมิให้มีเหตุการณ์ต่างๆ อันเกิดจากความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้างเป็นการคุ้มครองและอำนวยประโยชน์แก่ลูกจ้าง ทั้งป้องกันมิให้เกิดความระส่ำระสายในการเศรษฐกิจของประเทศและความสงบสุขของบ้านเมือง จึงเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ลูกจ้างของโจทก์ถึงแก่ความตายขณะปฏิบัติหน้าที่ โจทก์กับมารดาของผู้ตายได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความในเรื่องเงินค่าทดแทนกันไว้หากโจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง โจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนเป็นรายเดือน เดือนละ 200 บาท มีกำหนด 5 ปีคำนวณแล้วเป็นเงินถึง 12,000 บาท. แต่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความโจทก์จ่ายเงินเพียง 2,000 บาทเท่านั้น เป็นการหลีกเลี่ยงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้างสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับเงินค่าทดแทน จึงเป็นข้อตกลงที่ผิดแผกแตกต่างไปจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2516 )
ลูกจ้างของโจทก์ถึงแก่ความตายขณะปฏิบัติหน้าที่ โจทก์กับมารดาของผู้ตายได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความในเรื่องเงินค่าทดแทนกันไว้หากโจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง โจทก์จะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนเป็นรายเดือน เดือนละ 200 บาท มีกำหนด 5 ปีคำนวณแล้วเป็นเงินถึง 12,000 บาท. แต่ตามสัญญาประนีประนอมยอมความโจทก์จ่ายเงินเพียง 2,000 บาทเท่านั้น เป็นการหลีกเลี่ยงก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ลูกจ้างสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับเงินค่าทดแทน จึงเป็นข้อตกลงที่ผิดแผกแตกต่างไปจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ตกเป็นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่2/2516 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 192/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินค่าทดแทนจากอุบัติเหตุร้ายแรง: สิทธิพิเศษตามประกาศ คปต., การระงับข้อพิพาท, และการหักเงินที่ได้รับไปแล้ว
นายอำเภอ เจ้าหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยเงินค่าทดแทนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ซึ่งออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้วินิจฉัยให้จำเลยซึ่งเป็นนายจ้างของผู้ตาย จ่ายเงินค่าทดแทนและค่าทำศพแก่โจทก์ซึ่งเป็นภริยาผู้อยู่ในอุปการะของผู้ตาย จำเลยอุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย ว่านายอำเภอไม่มีสิทธิวินิจฉัยให้จำเลยจ่ายเงินรายนี้ เพราะโจทก์ได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความ และรับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยแล้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดย่อมมีสิทธิวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยข้อนี้ได้ เพราะเป็นการวินิจฉัยว่าจำเลยจะต้องจ่ายเงินค่าทดแทน หรือไม่ต้องจ่ายนั่นเอง หาเป็นการวินิจฉัยนอกเหนืออำนาจไม่
ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยว่า เหตุที่ผู้ตายถึงแก่ความตายเพราะเกิดระเบิดเป็นอุบัติเหตุ และสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ จำเลยไม่นำคดีมาสู่ศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันรับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 14 ต้องถือว่าเรื่องเป็นอันยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ เมื่อโจทก์มาฟ้องขอให้บังคับจำเลยจ่ายเงินค่าทดแทนนั้น จำเลยจะโต้แย้งอีกว่า เหตุเกิดเพราะความประมาทของผู้ตาย และสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลบังคับใช้ได้ หาได้ไม่
โจทก์ได้รับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยจำนวนหนึ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความ แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะวินิจฉัยว่าสัญญานั้นเป็นโมฆะ และจำเลยจะโต้แย้งในชั้นศาลอีกมิได้แต่เงินค่าทดแทนที่โจทก์ได้รับไปแล้วก็ชอบที่จะหักออกจากเงินที่จำเลยจะต้องจ่ายให้โจทก์ได้
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2515)
ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยว่า เหตุที่ผู้ตายถึงแก่ความตายเพราะเกิดระเบิดเป็นอุบัติเหตุ และสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ จำเลยไม่นำคดีมาสู่ศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันรับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 14 ต้องถือว่าเรื่องเป็นอันยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ เมื่อโจทก์มาฟ้องขอให้บังคับจำเลยจ่ายเงินค่าทดแทนนั้น จำเลยจะโต้แย้งอีกว่า เหตุเกิดเพราะความประมาทของผู้ตาย และสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลบังคับใช้ได้ หาได้ไม่
โจทก์ได้รับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยจำนวนหนึ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความ แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะวินิจฉัยว่าสัญญานั้นเป็นโมฆะ และจำเลยจะโต้แย้งในชั้นศาลอีกมิได้แต่เงินค่าทดแทนที่โจทก์ได้รับไปแล้วก็ชอบที่จะหักออกจากเงินที่จำเลยจะต้องจ่ายให้โจทก์ได้
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 192/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การวินิจฉัยค่าทดแทนจากอุบัติเหตุทางแรงงาน: ผลผูกพันสัญญาประนีประนอม และกรอบเวลาอุทธรณ์
นายอำเภอ เจ้าหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยเงินค่าทดแทนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ซึ่งออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ได้วินิจฉัยให้จำเลยซึ่งเป็นนายจ้างของผู้ตายจ่ายเงินค่าทดแทนและค่าทำศพแก่โจทก์ซึ่งเป็นภริยาผู้อยู่ในอุปการะของผู้ตาย จำเลยอุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเจ้าหน้าที่ซึ่งกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย ว่านายอำเภอไม่มีสิทธิวินิจฉัยให้จำเลยจ่ายเงินรายนี้ เพราะโจทก์ได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความ และรับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยแล้วผู้ว่าราชการจังหวัดย่อมมีสิทธิวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยข้อนี้ได้เพราะเป็นการวินิจฉัยว่าจำเลยจะต้องจ่ายเงินค่าทดแทนหรือไม่ต้องจ่ายนั่นเอง หาเป็นการวินิจฉัยนอกเหนืออำนาจไม่
ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยว่า เหตุที่ผู้ตายถึงแก่ความตายเพราะเกิดระเบิดเป็นอุบัติเหตุ และสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะจำเลยไม่นำคดีมาสู่ศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันรับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 14 ต้องถือว่าเรื่องเป็นอันยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ เมื่อโจทก์มาฟ้องขอให้บังคับจำเลยจ่ายเงินค่าทดแทนนั้น จำเลยจะโต้แย้งอีกว่า เหตุเกิดเพราะความประมาทของผู้ตาย และสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลบังคับใช้ได้ หาได้ไม่
โจทก์ได้รับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยจำนวนหนึ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความ แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะวินิจฉัยว่าสัญญานั้นเป็นโมฆะ และจำเลยจะโต้แย้งในชั้นศาลอีกมิได้แต่เงินค่าทดแทนที่โจทก์ได้รับไปแล้วก็ชอบที่จะหักออกจากเงินที่จำเลยจะต้องจ่ายให้โจทก์ได้
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2515)
ผู้ว่าราชการจังหวัดวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยว่า เหตุที่ผู้ตายถึงแก่ความตายเพราะเกิดระเบิดเป็นอุบัติเหตุ และสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะจำเลยไม่นำคดีมาสู่ศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันรับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนฯ ข้อ 14 ต้องถือว่าเรื่องเป็นอันยุติตามคำวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่ เมื่อโจทก์มาฟ้องขอให้บังคับจำเลยจ่ายเงินค่าทดแทนนั้น จำเลยจะโต้แย้งอีกว่า เหตุเกิดเพราะความประมาทของผู้ตาย และสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลบังคับใช้ได้ หาได้ไม่
โจทก์ได้รับเงินค่าทดแทนไปจากจำเลยจำนวนหนึ่งตามสัญญาประนีประนอมยอมความ แม้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะวินิจฉัยว่าสัญญานั้นเป็นโมฆะ และจำเลยจะโต้แย้งในชั้นศาลอีกมิได้แต่เงินค่าทดแทนที่โจทก์ได้รับไปแล้วก็ชอบที่จะหักออกจากเงินที่จำเลยจะต้องจ่ายให้โจทก์ได้
(วรรคสองวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 22/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 270/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนจากอุบัติเหตุจากการทำงานจะหมดไปหากไม่ยื่นคำร้องภายใน 90 วันตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินค่าทดแทนตลอดจนจำนวนเงินค่าทดแทน ข้อ14 เป็นหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินทดแทนซึ่งกระทรวงมหาดไทยมีอำนาจกำหนดขึ้นได้ ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 19 ข้อ 3 วรรคสอง และมีผลบังคับอย่างกฎหมาย
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นคำร้องขอรับเงินค่าทดแทนต่อเจ้าพนักงานภายในกำหนด90 วัน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ ย่อมหมดสิทธิเรียกร้องเงินค่าทดแทน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2510)
เมื่อโจทก์ไม่ยื่นคำร้องขอรับเงินค่าทดแทนต่อเจ้าพนักงานภายในกำหนด90 วัน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ ย่อมหมดสิทธิเรียกร้องเงินค่าทดแทน(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 6/2510)