พบผลลัพธ์ทั้งหมด 260 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1614/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายศุลกากร: พยานหลักฐานต้องแสดงเค้ามูลความผิดผู้ครอบครองสินค้า
พระราชบัญญัติศุลกากร(ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 10 มิได้ตั้งข้อสันนิษฐานไว้ว่าเมื่อปรากฎว่าผู้ใดมีสิ่งซึ่งต้องห้าม หรือสิ่งมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสิ่งต้องกำกัดหรือเป็นสิ่งลักลอยหนีศุลกากรไว้ในครอบครอง ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือนำเข้ามาโดยลักลอบหนีศุลกากร หากแต่ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นความจริงตามข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้พบเห็นข้อนี้เป็นข้อสันนิษฐานข้อแรก ส่วนข้อสันนิษฐานว่าผู้มีสิ่งนั้นไว้ในครอบครองเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบ ฯ นั้น เป็นเพียงพอที่สืบเนื่องจากข้อสันนิษฐานข้อแรกนั้น
ข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจแจ้งไว้แต่ว่า ตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลย ค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลย จำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อ บรรทุกรถมา 1 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดี เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักรโจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมายจึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลยแล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่ายแต่ก็เอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
ข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจแจ้งไว้แต่ว่า ตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลย ค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลย จำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อ บรรทุกรถมา 1 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดี เพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักรโจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมายจึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลยแล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่ายแต่ก็เอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1614/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายในคดีศุลกากร: พยานหลักฐานต้องแสดงเค้ามูลความผิดของผู้ครอบครอง
พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2497 มาตรา 10มิได้ตั้งข้อสันนิษฐานไว้ว่า เมื่อปรากฏว่าผู้ใดมีสิ่งซึ่งต้องห้าม หรือสิ่งมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสิ่งกำกัดหรือเป็นสิ่งลักลอบหนีศุลกากรไว้ในครอบครอง ก็ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร หากแต่ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นความจริงตามข้อเท็จจริงที่จดแจ้งไว้ในบันทึกของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้พบเห็นข้อนี้เป็นข้อสันนิษฐานข้อแรก ส่วนข้อสันนิษฐานว่าผู้มีสิ่งนั้นไว้ในความครอบครองเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบ นั้น เป็นเพียงผลที่สืบเนื่องจากข้อสันนิษฐานข้อแรกนั้น
ข้อเท็จจริงที่จะจดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยาน พฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจจดแจ้งไว้แต่ว่าตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลยค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลยจำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อบรรทุกรถมา 3 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดีเพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร โจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมาย จึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลย แล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่าย แต่ก็นำเอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
ข้อเท็จจริงที่จะจดแจ้งไว้ในบันทึกตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติที่กล่าวนั้น อย่างน้อยจะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่ประกอบกันเป็นพยาน พฤติเหตุแวดล้อมพอจะแสดงเค้ามูลว่าผู้มีไว้ในครอบครองนั้นเป็นผู้นำสิ่งนั้นเข้ามาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือนำเข้ามาโดยการลักลอบหนีศุลกากร
บันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจจดแจ้งไว้แต่ว่าตำรวจได้ตรวจค้นบ้านจำเลยค้นพบสิ่งของบรรจุอยู่ในกระสอบ ได้สอบถามจำเลยจำเลยว่ารับฝากไว้จากชายไม่ทราบชื่อบรรทุกรถมา 3 คัน ตอนเช้าวันนั้นเอง ตำรวจสงสัยว่าเป็นสินค้าที่หลบหนีศุลกากร จึงยึดสินค้าและคุมตัวจำเลยมาดำเนินคดีเพียงเท่านี้ย่อมไม่มีลักษณะเป็นบันทึกอันจะก่อให้เกิดข้อสันนิษฐานตามมาตรา 10 ที่กล่าวนั้น และเมื่อเป็นดังนี้ การที่โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยร่วมกับผู้อื่นนำสินค้าเหล่านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร โจทก์ก็ต้องมีหน้าที่นำสืบพิสูจน์ความผิดของจำเลย และจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อพยานหลักฐานของโจทก์เพียงพอให้ฟังว่าจำเลยกระทำผิดตามข้อหา
ถ้าศาลชั้นต้นถือว่าโจทก์ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมาย จึงมิได้พิเคราะห์พยานหลักฐานของโจทก์ คงวินิจฉัยแต่ของจำเลย แล้วฟังว่าจำเลยมีความผิดลงโทษจำคุก 4 ปี ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยพยานหลักฐานของทั้งสองฝ่าย แต่ก็นำเอาข้อสันนิษฐานนั้นมาประกอบด้วย แล้วจึงฟังว่าจำเลยมีความผิดและพิพากษายืน เมื่อศาลฎีกาเห็นว่ากรณีแห่งคดีนี้ไม่มีข้อสันนิษฐานของกฎหมาย และเห็นว่าศาลล่างทั้งสองมิได้วินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์จำเลยโดยชอบด้วยวิธีพิจารณา ศาลฎีกาก็ไม่จำต้องฟังข้อเท็จจริงตามศาลล่าง แต่พึงวินิจฉัยข้อเท็จจริงใหม่ตามพยานหลักฐานที่โจทก์จำเลยได้นำสืบมาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1748/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดิน: การพิสูจน์สิทธิก่อนมีผลบังคับใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน เพื่อให้ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิครอบครองที่จะคุ้มครองตลอดถึงผู้รับโอนด้วย ตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 4 นั้น ผู้โอนจะต้องได้มาซึ่งสิทธิครอบครองก่อนวันใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยเข้ายึดถือครอบครองที่ดินของรัฐโดยจำเลยไม่มีสิทธิครอบครองและไม่ได้รับอนุญาต เมื่อจำเลยรับว่าไม่มีสิทธิครอบครองเมื่อประกาศใช้ประมวลกฎหมายที่ดินถึง 3 ปีแล้ว โดยอ้างว่าซื้อที่รายนี้จากผู้อื่น จำเลยก็มีหน้าทีนำสืบใช้ได้ความว่า ผู้ขายมีสิทธิครอบครองมาก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน จึงจะได้รับความคุ้มครองตาม 4 นั้น ผู้โอนจะต้องได้มาผู้อื่น จำเลยก็มีหน้าที่นำสืบใช้ได้ความว่า ผู้ขายมีสิทธิครอบครองมาก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน จึงจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 4 นั้น
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยเข้ายึดถือครอบครองที่ดินของรัฐโดยจำเลยไม่มีสิทธิครอบครองและไม่ได้รับอนุญาต เมื่อจำเลยรับว่าไม่มีสิทธิครอบครองเมื่อประกาศใช้ประมวลกฎหมายที่ดินถึง 3 ปีแล้ว โดยอ้างว่าซื้อที่รายนี้จากผู้อื่น จำเลยก็มีหน้าทีนำสืบใช้ได้ความว่า ผู้ขายมีสิทธิครอบครองมาก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน จึงจะได้รับความคุ้มครองตาม 4 นั้น ผู้โอนจะต้องได้มาผู้อื่น จำเลยก็มีหน้าที่นำสืบใช้ได้ความว่า ผู้ขายมีสิทธิครอบครองมาก่อนใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน จึงจะได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 4 นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแสดงความคิดเห็นโดยได้รับอนุญาตทางราชการ ไม่คุ้มครองการหมิ่นประมาทเจ้าพนักงาน
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานหมิ่นประมาทเจ้าพนักงาน จำเลยให้การว่าจำเลยพูดโดยแสดงความคิดเห็นโดยได้รับอนุญาตจากทางราชการแล้ว การที่ได้รับอนุญาตให้พูดมิได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายที่จะให้กล่าวถ้อยคำอันเป็นความผิดอาญา หรือ ทำให้เกิดการเสียหายต่อผู้อื่นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1241/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแสดงความคิดเห็นโดยได้รับอนุญาตทางราชการ ไม่คุ้มครองการหมิ่นประมาทเจ้าพนักงาน จำเป็นต้องมีการสืบพยานเพื่อพิสูจน์
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานหมิ่นประมาทเจ้าพนักงานจำเลยให้การว่าจำเลยพูดโดยแสดงความคิดเห็นโดยได้รับอนุญาตจากทางราชการแล้ว การที่ได้รับอนุญาตให้พูดมิได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายที่จะให้กล่าวถ้อยคำอันเป็นความผิดอาญา หรือทำให้เกิดการเสียหายต่อผู้อื่นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1217/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับการนำสืบพยานในคดีอาญาที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เดียวกัน ศาลต้องให้โจทก์นำสืบก่อน
คดีอาญามูลกรณีเดียวกันซึ่งผู้ว่าคดีฯฟ้องโจทก์เป็นจำเลยสำนวนหนึ่งฐานทะเลาะวิวาทกับนายเจียวไซกับพวกในที่สาธารณสถานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 372 แล้ว โจทก์ยื่นฟ้องนายเจียวไซกับพวกเป็นจำเลยฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ถึงอันตรายตามมาตรา 295 อีกสำนวนหนึ่ง ศาลชั้นต้นสั่งรวมพิจารณาโดยให้ผู้ว่าคดีฯในสำนวนแรกนำสืบก่อน นั้น จะสั่งให้จำเลยในสำนวนหลังซึ่งเป็นพยานของผู้ว่าคดีฯ สำนวนแรกนำสืบในฐานะเป็นจำเลยในสำนวนหลังไปเลยทีเดียว แล้วจึงให้โจทก์คดีนี้นำสืบทีหลังในฐานะเป็นโจทก์คดีนี้และเป็นจำเลยคดีแรกด้วยไม่ได้ ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 174
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1217/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับการนำสืบพยานในคดีอาญาที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เดียวกัน ศาลฎีกาเห็นชอบกับลำดับเดิมที่ศาลชั้นต้นสั่ง
คดีอาญามูลกรณีเดียวกัน ซึ่งผู้ว่าคดีฯ ฟ้องโจทก์เป็นจำเลยสำนวนหนึ่งฐานทะเลาะวิวาทกับนายเจียวไซกับพวกในที่สาธารณสถานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 372 แล้ว โจทก์ยื่นฟ้องนายเจียวไซ กับพวกเป็นจำเลยฐานทำร้ายร่างกาย โจทก์ถึงอันตรายตามมาตรา 295 ศาลชั้นต้นสั่งรวมพิจารณาโดยให้ผู้ว่าคดี ฯ ในสำนวนแรกนำสืบก่อน นั้น จะสั่งให้จำเลยในสำนวนหลังซึ่งเป็นพยานของผู้ว่าคดีฯ สำนวนแรกนำสืบในฐานะเป็นจำเลยในสำนวนหลังไปเลยทีเดียว แล้วจึงให้โจทก์คดีนี้นำสืบทีหลังในฐานะเป็นโจทก์คดีนี้และเป็นจำเลยคดีแรกด้วยไม่ได้ไม่ชอบด้วยประมวลวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 174
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1062-1065/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิเสธความผิดและการนำสืบพยาน: เมื่อโจทก์นำสืบพยานไม่พอฟัง ศาลไม่ต้องฟังพยานจำเลย
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน จำเลยให้การว่า คำสั่งของนายอำเภอ ไม่ชอบด้วยกฎหมายดังนี้ ถือว่าจำเลยให้การปฏิเสธว่ามิได้ กระทำผิด
เมื่อศาลเห็นว่า พยานโจทก์ที่นำสืบมาแล้ว ไม่พอฟัง ลงโทษจำเลยได้ ศาลก็ไม่จำต้องฟังคำพยาน จำเลย ต่อไป
เมื่อศาลเห็นว่า พยานโจทก์ที่นำสืบมาแล้ว ไม่พอฟัง ลงโทษจำเลยได้ ศาลก็ไม่จำต้องฟังคำพยาน จำเลย ต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1062-1065/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การต่อสู้คดีอาญา: เมื่อโจทก์ไม่มีหลักฐานเพียงพอ ศาลไม่จำเป็นต้องรับฟังพยานจำเลย
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานจำเลยให้การว่าคำสั่งของนายอำเภอไม่ชอบด้วยกฎหมาย ดังนี้ถือว่าจำเลยให้การปฏิเสธว่ามิได้กระทำผิด
เมื่อศาลเห็นว่า พยานโจทก์ที่นำสืบมาแล้ว ไม่พอฟังลงโทษจำเลยได้ ศาลก็ไม่จำต้องฟังคำพยานจำเลยต่อไป
เมื่อศาลเห็นว่า พยานโจทก์ที่นำสืบมาแล้ว ไม่พอฟังลงโทษจำเลยได้ ศาลก็ไม่จำต้องฟังคำพยานจำเลยต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 862/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยในคดีอาญา มีสิทธิพิสูจน์ความบริสุทธิ์ แม้ไม่ต่อสู้คดี หรือซักค้านพยานโจทก์
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยฆ่าคน แม้ว่าจำเลยจะให้การปฏิเสธลอย ๆ และจำเลยไม่ได้ซักค้านพยานโจทก์ในเรื่องป้องกันตัว จำเลยก็นำสืบในเรื่องป้องกันตัวได้ เพราะกระบวนพิจารณาความในคดีอาญาต่างกับในคดีแพ่ง ในคดีอาญา จำเลยไม่ยอมให้การอย่างใดเลย ก็ไม่เป็นไรและไม่ว่าจำเลยจะให้การต่อสู้อย่างไร หรือไม่ให้การเลย ก็เป็นหน้าที่ของโจทก์ต้องนำพยานเข้าสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลยตามฟ้องก่อนเสมอไป และหลังจากสืบพยานโจทก์เสร็จแล้ว จำเลยมีอำนาจนำพยานเข้าสืบเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ของจำเลยได้ เมื่อเป็นดังนี้ จำเลยในคดีอาญาจึงมีอำนาจนำพยานเข้าสืบเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ ของจำเลยได้โดยไม่จำเป็นต้องให้การต่อสู้เป็นประเด็นไว้ และไม่จำต้องซักค้านพยานโจทก์ในเรื่องที่จำเลยจะนำพยานเข้าสืบต่อไปไว้เลยก็ได้