พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,151 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3030/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากลาป่วยด้วยโรคประสาท และการจ่ายค่าชดเชย
โจทก์ถูกงดขั้นเงินเดือนติดต่อกัน 2 ปี เพราะลาป่วยเกินกว่า 30 วัน เนื่องจากป่วยเป็นโรคประสาทแต่ก็ถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับของจำเลย แม้จำเลยให้โจทก์ออกจากงานได้ตามคำสั่งและข้อบังคับของจำเลยก็ตาม ก็มิใช่กรณีที่โจทก์ได้กระทำความผิดอันต้องด้วยข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่โจทก์ ตามข้อ 47 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3006/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม: การอ้างเหตุที่ไม่ตรงกับคำให้การเดิม และการยกเหตุใหม่ในชั้นอุทธรณ์
คำให้การของจำเลยอ้างเหตุแต่เพียงว่าโจทก์เล่นการพนันกับพนักงานในขณะทำงานคดีจึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุที่โจทก์ขาดงานติดต่อกันเกิน3วันหรือดื่มสุราในเวลาทำงานหรือไม่แม้ทางพิจารณาจำเลยจะได้นำสืบถึงเหตุดังกล่าวก็เป็นการนำสืบนอกประเด็น จำเลยให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์มีหน้าที่พิสูจน์อักษรแต่โจทก์กระทำโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่อย่างร้ายแรงทำให้การพิสูจน์อักษรในหนังสือฉบับพิเศษของหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจฉบับดีเด่นแห่งปีประจำปี2528ผิดพลาดไป20แห่งเป็นข้อผิดพลาดมากจำเลยได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงจึงเป็นเหตุให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้เป็นการอ้างเหตุไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ47(5)แต่อุทธรณ์ของจำเลยอ้างเหตุว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามประกาศฯดังกล่าวข้อ47(2)ซึ่งจำเลยมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การจึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา225ประกอบด้วยมาตรา31แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3006/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างแรงงาน: การอ้างเหตุนอกประเด็น & การเปลี่ยนแปลงเหตุเลิกจ้างในอุทธรณ์ เป็นเหตุให้ศาลฎีกายืนตามคำพิพากษาเดิม
คำให้การของจำเลยอ้างเหตุแต่เพียงว่า โจทก์เล่นการพนันกับพนักงานในขณะทำงาน คดีจึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุที่โจทก์ขาดงานติดต่อกันเกิน 3วันหรือดื่มสุราในเวลาทำงานหรือไม่ แม้ทางพิจารณาจำเลยจะได้นำสืบถึงเหตุดังกล่าวก็เป็นการนำสืบนอกประเด็น
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์มีหน้าที่พิสูจน์อักษรแต่โจทก์กระทำโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่อย่างร้ายแรงทำให้การพิสูจน์อักษรในหนังสือฉบับพิเศษของหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจฉบับดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2528 ผิดพลาดไป20แห่ง เป็นข้อผิดพลาดมากจำเลยได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงจึงเป็นเหตุให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้เป็นการอ้างเหตุไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ 47(5) แต่อุทธรณ์ของจำเลยอ้างเหตุว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามประกาศฯดังกล่าวข้อ 47(2) ซึ่งจำเลยมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลาง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 225 ประกอบด้วยมาตรา 31แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์มีหน้าที่พิสูจน์อักษรแต่โจทก์กระทำโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่อย่างร้ายแรงทำให้การพิสูจน์อักษรในหนังสือฉบับพิเศษของหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจฉบับดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2528 ผิดพลาดไป20แห่ง เป็นข้อผิดพลาดมากจำเลยได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงจึงเป็นเหตุให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้เป็นการอ้างเหตุไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ 47(5) แต่อุทธรณ์ของจำเลยอ้างเหตุว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามประกาศฯดังกล่าวข้อ 47(2) ซึ่งจำเลยมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลาง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 225 ประกอบด้วยมาตรา 31แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3006/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม: ศาลฎีกายืนตามศาลแรงงานกลาง เหตุจำเลยอุทธรณ์เกินกรอบประเด็นที่ต่อสู้ไว้
คำให้การของจำเลยอ้างเหตุแต่เพียงว่า โจทก์เล่นการพนันกับพนักงานในขณะทำงาน คดีจึงไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุที่โจทก์ขาดงานติดต่อกันเกิน 3 วัน หรือดื่มสุราในเวลาทำงานหรือไม่ แม้ทางพิจารณาจำเลยจะได้นำสืบถึงเหตุดังกล่าว ก็เป็นการนำสืบนอกประเด็น
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์มีหน้าที่พิสูจน์อักษรแต่โจทก์กระทำโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่อย่างร้ายแรง ทำให้การพิสูจน์อักษรในหนังสือฉบับพิเศษของหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจฉบับดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2528 ผิดพลาดไป 20 แห่ง เป็นข้อผิดพลาดมาก จำเลยได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง จึงเป็นเหตุให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ เป็นการอ้างเหตุไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานข้อ 47 (5) แต่อุทธรณ์ของจำเลยอ้างเหตุว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามประกาศ ฯ ดังกล่าวข้อ 47 (2)ซึ่งจำเลยมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลาง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ประกอบด้วยมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522
จำเลยให้การต่อสู้คดีว่าโจทก์มีหน้าที่พิสูจน์อักษรแต่โจทก์กระทำโดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าที่อย่างร้ายแรง ทำให้การพิสูจน์อักษรในหนังสือฉบับพิเศษของหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจฉบับดีเด่นแห่งปี ประจำปี 2528 ผิดพลาดไป 20 แห่ง เป็นข้อผิดพลาดมาก จำเลยได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง จึงเป็นเหตุให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ เป็นการอ้างเหตุไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานข้อ 47 (5) แต่อุทธรณ์ของจำเลยอ้างเหตุว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายตามประกาศ ฯ ดังกล่าวข้อ 47 (2)ซึ่งจำเลยมิได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในคำให้การ จึงเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลาง ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ประกอบด้วยมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2964/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำในคดีแรงงาน: การเรียกร้องเงินบำเหน็จหลังมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว
คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรมขอให้บังคับจำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงานตามเดิมหรือใช้ค่าเสียหายและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟ้องศาลฎีกาพิพากษายืนคดีถึงที่สุดโจทก์มาฟ้องจำเลยเรียกเงินบำเหน็จเป็นคดีนี้ซึ่งสิทธิฟ้องเรียกเงินบำเหน็จนี้มีมูลมาจากการเลิกจ้างของจำเลยโจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกเงินจำนวนนี้จากจำเลยได้เมื่อโจทก์ฟ้องคดีก่อนอยู่แล้วแต่โจทก์มิได้ฟ้องรวมไปในคดีก่อนกลับมาฟ้องใหม่ในคดีนี้อีกโดยอาศัยเหตุการเลิกจ้างคราวเดียวกันจึงเป็นฟ้องซ้ำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา148ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522มาตรา31.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2964/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำในคดีแรงงาน: สิทธิเรียกร้องเงินบำเหน็จจากเหตุเลิกจ้างเดิม หากไม่ได้ฟ้องรวมในคดีก่อน
คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรมขอให้บังคับจำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงานตามเดิม หรือใช้ค่าเสียหายและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟ้อง ศาลฎีกาพิพากษายืนคดีถึงที่สุด โจทก์มาฟ้องจำเลยเรียกเงินบำเหน็จเป็นคดีนี้ ซึ่งสิทธิฟ้องเรียกเงินบำเหน็จนี้มีมูลมาจากการเลิกจ้างของจำเลย โจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกเงินจำนวนนี้จากจำเลยได้เมื่อโจทก์ฟ้องคดีก่อนอยู่แล้ว แต่โจทก์มิได้ฟ้องรวมไปในคดีก่อนกลับมาฟ้องใหม่ในคดีนี้อีกโดยอาศัยเหตุการเลิกจ้างคราวเดียวกัน จึงเป็นฟ้องซ้ำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522มาตรา 31
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2964/2529 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำในคดีแรงงาน: การเรียกร้องเงินบำเหน็จหลังคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรมถึงที่สุดแล้ว
คดีก่อนโจทก์ฟ้องว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรมขอให้บังคับจำเลยรับโจทก์กลับเข้าทำงานตามเดิม หรือใช้ค่าเสียหายและสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟ้อง ศาลฎีกาพิพากษายืนคดีถึงที่สุด โจทก์มาฟ้องจำเลยเรียกเงินบำเหน็จเป็นคดีนี้ ซึ่งสิทธิฟ้องเรียกเงินบำเหน็จนี้มีมูลมาจากการเลิกจ้างของจำเลย โจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกเงินจำนวนนี้จากจำเลยได้เมื่อโจทก์ฟ้องคดีก่อนอยู่แล้ว แต่โจทก์มิได้ฟ้องรวมไปในคดีก่อนกลับมาฟ้องใหม่ในคดีนี้อีกโดยอาศัยเหตุการเลิกจ้างคราวเดียวกัน จึงเป็นฟ้องซ้ำตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2964/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำในคดีแรงงาน: การเรียกเงินบำเหน็จหลังศาลตัดสินการเลิกจ้างแล้ว
โจทก์เคยฟ้องจำเลยต่อศาลแรงงานว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรมคดีนั้นศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าจำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ไม่เป็นการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรมโจทก์จึงมาฟ้องเรียกเงินบำเหน็จจากจำเลยในคดีนี้เมื่อสิทธิฟ้องเรียกเงินบำเหน็จมีมูลมาจากการเลิกจ้างของจำเลยคราวเดียวกันแต่โจทก์มิได้ฟ้องรวมไปในคดีก่อนกลับมาฟ้องใหม่คดีนี้จึงเป็นฟ้องซ้ำตามป.วิ.พ.มาตรา148ประกอบด้วยพ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522มาตรา31.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2923/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างพนักงานขับรถ: การขับรถล่าช้าโดยไม่มีเจตนาทุจริต ไม่ถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้
โจทก์ซึ่งเป็นพนักงานขับรถของจำเลยขับรถบรรทุกสินค้าไปถึงปลายทางล่าช้ากว่ากำหนด 3 ชั่วโมง เพราะขับออกนอกเส้นทางแต่ไม่ได้ความว่าโจทก์มีเจตนาประวิงเวลาการทำงานหรือมีเจตนาที่จะไม่ให้สินค้าลงเรือทันตามกำหนด จะถือว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายไม่ได้ จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุนี้จึงต้องจ่ายค่าชดเชย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2923/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างพนักงานขับรถล่าช้า ไม่ถือเป็นเจตนาทำให้เกิดความเสียหาย หากไม่มีหลักฐานเจตนาประวิงเวลา
โจทก์ซึ่งเป็นพนักงานขับรถของจำเลยขับรถบรรทุกสินค้าไปถึงปลายทางล่าช้ากว่ากำหนด 3 ชั่วโมง เพราะขับออกนอกเส้นทางแต่ไม่ได้ความว่าโจทก์มีเจตนาประวิงเวลาการทำงานหรือมีเจตนาที่จะไม่ให้สินค้าลงเรือทันตามกำหนด จะถือว่าโจทก์จงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายไม่ได้ จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุนี้จึงต้องจ่ายค่าชดเชย