พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,151 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2841/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเกษียณอายุตามระเบียบบริษัท: การใช้สิทธิขอปลดเกษียณก่อนกำหนดไม่ใช่การลาออกแต่เป็นการเลิกจ้าง
คู่มือพนักงาน ฯ หมวดที่ 5 ข้อ 5.3 การครบเกษียณอายุ ตามข้อ 5.3.1 นั้น ปกติพนักงานชายจะเกษียณอายุเมื่อมีอายุครบ60 ปีบริบูรณ์ แต่มีข้อยกเว้นตามข้อ 5.3.3 ว่า จำเลยผู้เป็นนายจ้างหรือพนักงานของจำเลยซึ่งเป็นพนักงานชายที่มีอายุ 55 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป แต่ละฝ่ายอาจขอให้รับการปลดเกษียณก่อนมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ก็ได้ ซึ่งหากจำเลยผู้เป็นนายจ้างหรือพนักงานผู้เป็นลูกจ้างขอให้รับการปลดเกษียณก่อนดังกล่าวแล้ว ย่อมมีผลเป็นการปลดเกษียณโดยได้รับเงินบำเหน็จด้วยเช่นเดียวกัน ส่วนการลาออกตามข้อ 5.2 นั้น เป็นเรื่องที่ลูกจ้างขอเลิกสัญญาจ้างแรงงานกรณีที่ลูกจ้างไม่มีสิทธิขอให้ได้รับการปลดเกษียณตามข้อ 5.3.3 หรือมีสิทธิตามข้อ 5.3.3 แต่ลูกจ้างไม่ประสงค์จะให้ได้รับสิทธิเช่นนั้นเท่านั้นโจทก์มีหนังสือแจ้งแก่จำเลยว่า โจทก์ขอลาเกษียณอายุก่อนกำหนด ขอได้พิจารณาอนุมัติตามระเบียบต่อไป จึงเป็นเรื่องโจทก์ใช้สิทธิขอลาเกษียณอายุก่อนกำหนดตามข้อ 5.3.3 แม้โจทก์จะอ้างว่า โจทก์มีสุขภาพไม่สมบูรณ์ไว้ด้วย ก็เป็นเพียงเหตุที่โจทก์ไม่ประสงค์จะปฏิบัติงานจนมีอายุครบ 60 บริบูรณ์ จึงขอใช้สิทธิตามข้อ 5.3.3 เท่านั้น รูปเรื่องจึงมิใช่ขอลาออกตามข้อ 5.2 แต่เป็นเรื่องจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุเกษียณอายุแล้ว จึงต้องจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2841/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปลดเกษียณก่อนกำหนดตามระเบียบบริษัท มิใช่การลาออก จึงมีสิทธิได้รับค่าชดเชย
คู่มือพนักงานฯหมวดที่5ข้อ5.3การครบเกษียณอายุตามข้อ5.3.1นั้นปกติพนักงานชายจะเกษียณอายุเมื่อมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์แต่มีข้อยกเว้นตามข้อ5.3.3ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างหรือพนักงานของจำเลยซึ่งเป็นพนักงานชายที่มีอายุ55ปีบริบูรณ์ขึ้นไปแต่ละฝ่ายอาจขอให้รับการปลดเกษียณก่อนมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์ก็ได้ซึ่งหากจำเลยผู้เป็นนายจ้างหรือพนักงานผู้เป็นลูกจ้างขอให้รับการปลดเกษียณก่อนดังกล่าวแล้วย่อมมีผลเป็นการปลดเกษียณโดยได้รับเงินบำเหน็จด้วยเช่นเดียวกันส่วนการลาออกตามข้อ5.2นั้นเป็นเรื่องที่ลูกจ้างขอเลิกสัญญาจ้างแรงงานกรณีที่ลูกจ้างไม่มีสิทธิขอให้ได้รับการปลดเกษียณตามข้อ5.3.3หรือมีสิทธิตามข้อ5.3.3แต่ลูกจ้างไม่ประสงค์จะให้ได้รับสิทธิเช่นนั้นเท่านั้นโจทก์มีหนังสือแจ้งแก่จำเลยว่าโจทก์ขอลาเกษียณอายุก่อนกำหนดขอได้พิจารณาอนุมัติตามระเบียบต่อไปจึงเป็นเรื่องโจทก์ใช้สิทธิขอลาเกษียณอายุก่อนกำหนดตามข้อ5.3.3แม้โจทก์จะอ้างว่าโจทก์มีสุขภาพไม่สมบูรณ์ไว้ด้วยก็เป็นเพียงเหตุที่โจทก์ไม่ประสงค์จะปฏิบัติงานจนมีอายุครบ60บริบูรณ์จึงขอใช้สิทธิตามข้อ5.3.3เท่านั้นรูปเรื่องจึงมิใช่ขอลาออกตามข้อ5.2แต่เป็นเรื่องจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุเกษียณอายุแล้วจึงต้องจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้าง และจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา52แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้นมิใช่เป้นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันทีแต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้วสัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลงส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา582จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้นการยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงานโดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา583จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างคดีอยู่ระหว่างพิจารณาจำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไปย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ10แล้วและเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสมเมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างและจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างยังต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามกฎหมาย
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่ เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประมูลที่ไม่เป็นคำเสนอ การยกเลิกการประมูลโดยชอบธรรม และสิทธิของผู้อื่น
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีต โจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่น เมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใด ๆ ทั้งสิ้นจากจำเลย ดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้ว จำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้ เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศ ประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลย ถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้น หนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ
หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอ แต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูล และมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้ และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสีย อันเป็นการบอกปัดคำเสนอ โดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือ สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้
โจทก์ฟ้องอ้างว่า จำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริต เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลย การยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่า ส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่า ซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่ จึงบังคับให้ไม่ได้ ดังนี้จึงไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.
หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอ แต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูล และมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้ และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสีย อันเป็นการบอกปัดคำเสนอ โดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือ สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้
โจทก์ฟ้องอ้างว่า จำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริต เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลย การยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่า ส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่า ซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่ จึงบังคับให้ไม่ได้ ดังนี้จึงไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประมูลที่ไม่ผูกพัน: จำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลได้ แม้มีผู้เสนอราคาแล้ว สัญญาจึงยังไม่เกิดขึ้น
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีตโจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่นเมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใด ๆทั้งสิ้นจากจำเลยดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้วจำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลยถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้นหนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอแต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลและมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน15วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสียอันเป็นการบอกปัดคำเสนอโดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้ โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริตเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลยการยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่าส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่า ซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่จึงบังคับให้ไม่ได้ไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประมูลและการยกเลิกประมูล: สิทธิและผลผูกพันตามสัญญา
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีตโจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่นเมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใดๆทั้งสิ้นจากจำเลยดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้วจำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลยถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้นหนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอแต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลและมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน15วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสียอันเป็นการบอกปัดคำเสนอโดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้ โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริตเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลยการยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่าส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่าซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่จึงบังคับให้ไม่ได้ดังนี้จึงไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2790/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจ่ายค่าชดเชยวันหยุดพักผ่อนประจำปีสำหรับลูกจ้างที่ทำงานไม่ครบหนึ่งปี และการนำสืบเปลี่ยนแปลงเอกสาร
ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยระบุว่าเมื่อพนักงานของจำเลยผู้ใดทำงานครบกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีขึ้นไปจึงจะมีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีได้แต่ละปีตามจำนวนวันที่กำหนดไว้ และเมื่อมีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีได้แล้ว หากลาออกจากงานหรือมีการเลิกจ้าง จำเลยก็จะจ่ายค่าจ้างสำหรับวันลาหยุดพักผ่อนประจำปีให้ ซึ่งจะกระทำในกรณีจำเป็น และต้องได้รับอนุมัติจากกรรมการผู้จัดการของจำเลยก่อน แต่กรณีของโจทก์ทั้งสอง ปรากฏว่ายังทำงานไม่ครบหนึ่งปี ไม่มีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปี จึงไม่มีกรณีที่กรรมการผู้จัดการของจำเลยจะอนุมัติให้จ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีแก่โจทก์ได้แม้ตามเอกสารที่จำเลยทำขึ้นจะมีข้อความว่า จำเลยได้จ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์ก็ตาม จำเลยก็มีสิทธิที่จะนำสืบได้ว่าเงินที่จำเลยจ่ายให้แก่โจทก์นั้นความจริงแล้วเป็นการจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหาต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 ไม่ เพราะกรณีนายจ้างจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่ลูกจ้างนั้น กฎหมายมิได้บังคับให้ต้องทำหลักฐานเป็นหนังสือต่อกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2790/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิลาพักร้อนและการจ่ายค่าชดเชย กรณีลูกจ้างทำงานไม่ครบหนึ่งปี นายจ้างมีสิทธิเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารได้
ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยระบุว่าเมื่อพนักงานของจำเลยผู้ใดทำงานครบกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีขึ้นไปจึงจะมีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีได้แต่ละปีตามจำนวนวันที่กำหนดไว้และเมื่อมีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีได้แล้วหากลาออกจากงานหรือมีการเลิกจ้างจำเลยก็จะจ่ายค่าจ้างสำหรับวันลาหยุดพักผ่อนประจำปีให้ซึ่งจะกระทำในกรณีจำเป็นและต้องได้รับอนุมัติจากกรรมการผู้จัดการของจำเลยก่อนแต่กรณีของโจทก์ทั้งสองปรากฏว่ายังทำงานไม่ครบหนึ่งปีไม่มีสิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีจึงไม่มีกรณีที่กรรมการผู้จัดการของจำเลยจะอนุมัติให้จ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีแก่โจทก์ได้แม้ตามเอกสารที่จำเลยทำขึ้นจะมีข้อความว่าจำเลยได้จ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์ก็ตามจำเลยก็มีสิทธิที่จะนำสืบได้ว่าเงินที่จำเลยจ่ายให้แก่โจทก์นั้นความจริงแล้วเป็นการจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหาต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา94ไม่เพราะกรณีนายจ้างจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่ลูกจ้างนั้นกฎหมายมิได้บังคับให้ต้องทำหลักฐานเป็นหนังสือต่อกัน.