พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2,151 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2496/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากหมิ่นประมาทนายจ้างด้วยถ้อยคำรุนแรง ถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
โจทก์เขียนข้อความนำไปปิดประกาศที่บอร์ดของสหภาพแรงงานเป็นข้อความวิจารณ์ด้วยถ้อยคำรุนแรงกล่าวหาผู้บริหารโรงแรมกลั่นแกล้งพนักงานสหภาพแรงงานเป็นทาสฝรั่ง แม่บ้านของโรงแรมประพฤติชั่ว จิตทราม เข้าลักษณะหมิ่นประมาทจำเลย การกระทำของโจทก์เป็นการจงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายจำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย และไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2496/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างฐานหมิ่นประมาทนายจ้าง การกระทำที่เป็นเหตุให้เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
โจทก์เขียนข้อความนำไปปิดประกาศที่บอร์ดของสหภาพแรงงานเป็นข้อความวิจารณ์ด้วยถ้อยคำรุนแรงกล่าวหาผู้บริหารโรงแรมกลั่นแกล้งพนักงานสหภาพแรงงานเป็นทาสฝรั่งแม่บ้านของโรงแรมประพฤติชั่วจิตทรามเข้าลักษณะหมิ่นประมาทจำเลยการกระทำของโจทก์เป็นการจงใจทำให้จำเลยได้รับความเสียหายจำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยและไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2480/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจไม่ถูกต้อง และการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมจากเหตุทำร้ายร่างกายภรรยา
หนังสือมอบอำนาจของบริษัทจำเลยที่มอบอำนาจให้ช.ดำเนินคดีในศาลแรงงานกลางนั้นมีส.ลงชื่อผู้เดียวจำเลยอุทธรณ์ว่าหนังสือมอบอำนาจดังกล่าวไม่ถูกต้องเพราะตามข้อบังคับของบริษัทจำเลยกำหนดให้ส.ลงลายมือชื่อร่วมกับช.และประทับตราของบริษัทด้วยการมอบอำนาจจึงไม่ผูกพันจำเลยนั้นข้ออุทธรณ์ดังกล่าวมิใช่ข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา225ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522มาตรา31แม้จะเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนแต่ศาลฎีกาไม่เห็นสมควรที่จะยกขึ้นวินิจฉัยก็มีอำนาจที่จะไม่วินิจฉัยให้ได้. ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยระบุไว้ว่าการทำร้ายร่างกายกันเป็นความผิดทางวินัยมิได้ระบุว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงดังนั้นการกระทำใดจะถือว่าเป็นความผิดร้ายแรงหรือไม่ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไปโจทก์ตบตีภรรยาซึ่งเป็นคนงานด้วยกันแต่ไม่ปรากฏว่าได้รับบาดเจ็บแม้จะเป็นภายในบริเวณโรงงานแต่ก็นอกเวลาทำงานและไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จำเลยผู้เป็นนายจ้างการกระทำของโจทก์จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯข้อ47(3).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2480/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจไม่ถูกต้องตามข้อบังคับบริษัท และการเลิกจ้างลูกจ้างกรณีทำร้ายร่างกายภรรยาไม่ถือเป็นความผิดร้ายแรง
หนังสือมอบอำนาจของบริษัทจำเลยที่มอบอำนาจให้ ช. ดำเนินคดีในศาลแรงงานกลางนั้นมี ส. ลงชื่อผู้เดียว จำเลยอุทธรณ์ว่าหนังสือมอบอำนาจดังกล่าวไม่ถูกต้อง เพราะตามข้อบังคับของบริษัทจำเลยกำหนดให้ ส.ลงลายมือชื่อร่วมกับ ช. และประทับตราของบริษัทด้วย การมอบอำนาจจึงไม่ผูกพันจำเลยนั้น ข้ออุทธรณ์ดังกล่าวมิใช่ข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลแรงงานกลางต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 แม้จะเป็นข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แต่ศาลฎีกาไม่เห็นสมควรที่จะยกขึ้นวินิจฉัย ก็มีอำนาจที่จะไม่วินิจฉัยให้ได้
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยระบุไว้ว่าการทำร้ายร่างกายกันเป็นความผิดทางวินัย มิได้ระบุว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงดังนั้น การกระทำใดจะถือว่าเป็นความผิดร้ายแรงหรือไม่ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไปโจทก์ตบตีภรรยาซึ่งเป็นคนงานด้วยกันแต่ไม่ปรากฏว่าได้รับบาดเจ็บ แม้จะเป็นภายในบริเวณโรงงานแต่ก็นอกเวลาทำงาน และไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จำเลยผู้เป็นนายจ้าง การกระทำของโจทก์จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 47 (3)
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยระบุไว้ว่าการทำร้ายร่างกายกันเป็นความผิดทางวินัย มิได้ระบุว่าเป็นความผิดที่ร้ายแรงดังนั้น การกระทำใดจะถือว่าเป็นความผิดร้ายแรงหรือไม่ต้องพิจารณาเป็นรายกรณีไปโจทก์ตบตีภรรยาซึ่งเป็นคนงานด้วยกันแต่ไม่ปรากฏว่าได้รับบาดเจ็บ แม้จะเป็นภายในบริเวณโรงงานแต่ก็นอกเวลาทำงาน และไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จำเลยผู้เป็นนายจ้าง การกระทำของโจทก์จึงยังถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 47 (3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2470/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อุทธรณ์ภาษีป้ายเกินกำหนด – หนังสือแจ้งผลหารือไม่ใช่การแจ้งการประเมิน – อายุความอุทธรณ์เริ่มนับจากหนังสือแจ้งการประเมิน
โจทก์ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายประจำปีพ.ศ.2526ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1โดยคำนวณว่าต้องเสียภาษีป้าย5,070บาทแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1ตรวจสอบแล้วเห็นว่าไม่ถูกต้องจึงทำการประเมินเป็นค่าภาษีทั้งสิ้น31,720บาทแล้วแจ้งไปยังโจทก์ตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีป้ายลงวันที่1มีนาคม2526โจทก์ได้รับหนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่3มีนาคม2526โจทก์มิได้อุทธรณ์แต่ได้โต้แย้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1จำเลยที่1มีหนังสือหารือผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่3จำเลยที่3เห็นว่าจำเลยที่1คำนวณถูกต้องแล้วต่อมาวันที่24พฤษภาคม2526จำเลยที่1มีหนังสือแจ้งให้โจทก์ทราบผลการหารือจำเลยที่3และให้โจทก์นำค่าภาษีป้าย31,720บาทพร้อมเงินเพิ่ม317.20บาทไปชำระภายใน7วันนับแต่วันรับหนังสือครั้นวันที่1มิถุนายน2526โจทก์จึงอุทธรณ์การประเมินภาษีป้ายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่3ดังนี้เป็นการยื่นอุทธรณ์การประเมินภาษีป้ายเกินกำหนดเวลาตามมาตรา30แห่งพ.ร.บ.ภาษีป้ายพ.ศ.2510หนังสือฉบับหลังมิใช่หนังสือแจ้งการประเมินไม่อาจถือว่าเป็นการที่เจ้าหนี้ได้ทำการอื่นใดเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดีตามที่บัญญัติไว้ในป.พ.พ.มาตรา173ทั้งกำหนดเวลาอุทธรณ์การประเมินก็มิใช่อายุความจะนำบทบัญญัติเรื่องอายุความสะดุดหยุดลงมาปรับหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2470/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ภาษีป้ายเกินกำหนดระยะเวลา และหนังสือแจ้งผลการหารือไม่ใช่การแจ้งการประเมิน
โจทก์ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 ตรวจสอบแล้วเห็นว่าไม่ถูกต้อง จึงทำการประเมินใหม่แล้วแจ้งไปยังโจทก์ตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีป้ายลงวันที่ 1 มีนาคม 2526 โจทก์ได้รับหนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่ 3 เดือนเดียวกันแต่มิได้อุทธรณ์ กลับโต้แย้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 มีหนังสือหารือผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่ 3 จำเลยที่ 3 ตอบมายังจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 คำนวณภาษีป้ายถูกต้องแล้ว ต่อมาวันที่ 24 พฤษภาคม 2526 จำเลยที่ 1 มีหนังสือแจ้งให้โจทก์ทราบผลการหารือจำเลยที่ 3 กับให้โจทก์นำค่าภาษีป้ายพร้อมเงินเพิ่มไปชำระภายใน 7 วันนับแต่วันรับหนังสือ ครั้นวันที่ 1 มิถุนายน 2526 โจทก์จึงอุทธรณ์การประเมินภาษีป้ายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่ 3 ดังนี้ หนังสือลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2526 เป็นการแจ้งให้โจทก์นำภาษีป้ายพร้อมเงินเพิ่มตามที่ได้แจ้งการประเมินไว้แล้วตามหนังสือของจำเลยที่ 1 ลงวันที่ 1 มีนาคม 2526 ไปชำระแก่จำเลยที่ 1 เท่านั้น หาใช่หนังสือแจ้งการประเมินไม่ อุทธรณ์ของโจทก์จึงยื่นเกินกว่า 30 วันนับแต่วันที่โจทก์ได้รับแจ้งการประเมิน การที่จำเลยที่ 1 มีคำสั่งไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์จึงชอบแล้ว
เมื่อหนังสือฉบับลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2526 มิใช่การแจ้งการประเมิน ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการที่เจ้าหนี้ได้ทำการอื่นใดเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดีตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ทั้งกำหนดเวลาอุทธรณ์การประเมินก็มิใช่อายุความ จะนำบทบัญญัติเรื่องอายุความสะดุดหยุดลงมาปรับหาได้ไม่
เมื่อหนังสือฉบับลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2526 มิใช่การแจ้งการประเมิน ย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการที่เจ้าหนี้ได้ทำการอื่นใดเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดีตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 173 ทั้งกำหนดเวลาอุทธรณ์การประเมินก็มิใช่อายุความ จะนำบทบัญญัติเรื่องอายุความสะดุดหยุดลงมาปรับหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2470/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ภาษีป้ายต้องยื่นภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน การแจ้งให้ชำระภาษีไม่ใช่การแจ้งการประเมิน
โจทก์ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายแต่พนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1ตรวจสอบแล้วเห็นว่าไม่ถูกต้องจึงทำการประเมินใหม่แล้วแจ้งไปยังโจทก์ตามหนังสือแจ้งการประเมินภาษีป้ายลงวันที่1มีนาคม2526โจทก์ได้รับหนังสือดังกล่าวเมื่อวันที่3เดือนเดียวกันแต่มิได้อุทธรณ์กลับโต้แย้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของจำเลยที่1จำเลยที่1มีหนังสือหารือผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่3จำเลยที่3ตอบมายังจำเลยที่1ว่าจำเลยที่1คำนวณภาษีป้ายถูกต้องแล้วต่อมาวันที่24พฤษภาคม2526จำเลยที่1มีหนังสือแจ้งให้โจทก์ทราบผลการหารือจำเลยที่3กับให้โจทก์นำค่าภาษีป้ายพร้อมเงินเพิ่มไปชำระภายใน7วันนับแต่วันรับหนังสือครั้นวันที่1มิถุนายน2526โจทก์จึงอุทธรณ์การประเมินภาษีป้ายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดจำเลยที่3ดังนี้หนังสือลงวันที่24พฤษภาคม2526เป็นการแจ้งให้โจทก์นำภาษีป้ายพร้อมเงินเพิ่มตามที่ได้แจ้งการประเมินไว้แล้วตามหนังสือของจำเลยที่1ลงวันที่1มีนาคม2526ไปชำระแก่จำเลยที่1เท่านั้นหาใช่หนังสือแจ้งการประเมินไม่อุทธรณ์ของโจทก์จึงยื่นเกินกว่า30วันนับแต่วันที่โจทก์ได้รับแจ้งการประเมินการที่จำเลยที่1มีคำสั่งไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์จึงชอบแล้ว เมื่อหนังสือฉบับลงวันที่24พฤษภาคม2526มิใช่การแจ้งการประเมินย่อมถือไม่ได้ว่าเป็นการที่เจ้าหนี้ได้ทำการอื่นใดเป็นอย่างเดียวกับการฟ้องคดีตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา173ทั้งกำหนดเวลาอุทธรณ์การประเมินก็มิใช่อายุความจะนำบทบัญญัติเรื่องอายุความสะดุดหยุดลงมาปรับหาได้ไม่.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2453/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจยังใช้ได้แม้กรรมการลาออก การเลิกจ้างที่เป็นธรรมเมื่อบริษัทขาดทุน
การที่ อ. กับ จ. กรรมการบริษัทจำเลยลงชื่อมอบอำนาจให้ ถ.ดำเนินคดีแทนบริษัทจำเลย เป็นการกระทำในฐานะผู้แทนบริษัทจำเลยจึงเป็นการกระทำของบริษัทจำเลย แม้ต่อมา อ. จะพ้นจากการเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยไป หนังสือมอบอำนาจฉบับนั้นก็หาระงับไปไม่ ถ. จึงยังมีอำนาจที่จะมอบอำนาจให้ ส. ต่อสู้คดีแทนจำเลยโดยทำคำให้การยื่นต่อศาลได้
จำเลยประสบภาวะการขาดทุนมาก มีความจำเป็นเพียงพอต้องเลิกจ้างลูกจ้าง และจำเลยได้ใช้หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกว่าจะเลิกจ้างผู้ใดก่อนอย่างสมเหตุผล การที่โจทก์เป็นผู้ต้องถูกเลิกจ้างเพราะลากิจ ลาป่วยและมาทำงานสายมากจะถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้างบางคนมิได้ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมแล้ว
จำเลยประสบภาวะการขาดทุนมาก มีความจำเป็นเพียงพอต้องเลิกจ้างลูกจ้าง และจำเลยได้ใช้หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกว่าจะเลิกจ้างผู้ใดก่อนอย่างสมเหตุผล การที่โจทก์เป็นผู้ต้องถูกเลิกจ้างเพราะลากิจ ลาป่วยและมาทำงานสายมากจะถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้างบางคนมิได้ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2453/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือมอบอำนาจยังสมบูรณ์แม้กรรมการลาออก การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากผลประกอบการและเกณฑ์สมเหตุผล
การที่อ.กับจ.กรรมการบริษัทจำเลยลงชื่อมอบอำนาจให้ถ.ดำเนินคดีแทนบริษัทจำเลยเป็นการกระทำในฐานะผู้แทนบริษัทจำเลยจึงเป็นการกระทำของบริษัทจำเลยแม้ต่อมาอ.จะพ้นจากการเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยไปหนังสือมอบอำนาจฉบับนั้นก็หาระงับไปไม่ถ.จึงยังมีอำนาจที่จะมอบอำนาจให้ส.ต่อสู้คดีแทนจำเลยโดยทำคำให้การยื่นต่อศาลได้. จำเลยประสบภาวะการขาดทุนมากมีความจำเป็นเพียงพอต้องเลิกจ้างลูกจ้างและจำเลยได้ใช้หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกว่าจะเลิกจ้างผู้ใดก่อนอย่างสมเหตุผลการที่โจทก์เป็นผู้ต้องถูกเลิกจ้างเพราะลากิจลาป่วยและมาทำงานสายมากจะถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้างบางคนมิได้เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2438/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการแย่งอาวุธและการยิงผู้เสียหาย พฤติการณ์บ่งชี้ถึงเจตนา แม้ไม่ถูกก็เป็นเหตุบรรเทาโทษ
จำเลยกับผู้เสียหายเคยมีเรื่องทะเลาะวิวาทกันมาก่อนวันเกิดเหตุจำเลยทำทีขอนั่งซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ของพลตำรวจส. เมื่อสบโอกาสจำเลยแย่งเอาอาวุธปืนของพลตำรวจส. แล้ววิ่งไปทางบ้านพักที่เกิดเหตุครั้นพบผู้เสียหายและอยู่ห่างจากผู้เสียหายประมาณ2.50เมตรจำเลยชักอาวุธปืนออกยิงผู้เสียหายทันทีพฤติการณ์ดังกล่าวแสดงว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย ข้อเท็จจริงไม่ปรากฏว่าขณะเกิดเหตุจำเลยได้ทะเลาะโต้เถียงกับผู้เสียหายหรือผู้เสียหายได้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อจำเลยซึ่งมีลักษณะเป็นการข่มเหงการที่จำเลยและผู้เสียหายต่างเป็นภรรยาของสิบตำรวจโทพ. ไม่ว่าจำเลยจะเป็นภรรยามาก่อนหรือไม่ก็ตามจำเลยจะอ้างว่าตนถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมหาได้ไม่แต่การที่จำเลยเบิกความยอมรับว่าจำเลยมีอาวุธปืนติดตัวไปในวันเกิดเหตุและกระสุนปืนของจำเลยได้ลั่นขึ้นนั้นเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาของศาลถือเป็นเหตุบรรเทาโทษได้ตามป.อ.มาตรา78.