พบผลลัพธ์ทั้งหมด 105 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1523/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค้าประเวณีโดยใช้กำลังประทุษร้าย และหน่วงเหนี่ยวกักขัง ถือเป็นความผิดอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา
เมื่อคดีฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 เจ้าของกิจการสถานค้าประเวณีรับตัวนางสมจิตรผู้เสียหายไว้แล้วบังคับให้ค้าประเวณี ครั้นนางสมจิตรไม่ยินยอมก็ถูกผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่ เมื่อขัดขืนต่อไปอีกก็ถูกจำเลยที่ 1 ตบหน้า และบางครั้งเมื่อนางสมจิตรถูกชายดึงเข้าไปในห้องแล้ว จำเลยที่ 1 ก็ใส่กุญแจห้องข้างนอกและคอยเฝ้าอยู่ ทั้งยังตะโกนบอกชายที่มาเที่ยวว่าให้ตบตีได้ถ้านางสมจิตรไม่ยอม ถือได้ว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 เช่นนี้เป็นการกระทำเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งหญิงโดยใช้กำลังประทุษร้าย อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 283 แล้ว แต่ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 282เพราะนางสมจิตรอายุเกิน 18 ปี และไม่เป็นความผิดตามมาตรา 284 เพราะเป็นการกระทำเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น มิใช่เพื่อสำเร็จความใคร่ของตนเองหรือผู้ร่วมกระทำความผิดกับตน
ส่วนการที่จำเลยที่ 1 รับตัวนางสาววรรณาผู้เสียหายอายุ 16 ปี ซึ่งถูกหลอกลวงมาไว้เป็นโสเภณีในสำนักของตน ก็ได้ชื่อว่าเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของชายที่มาเที่ยว และจำเลยที่ 1 ได้เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งนางสาววรรณา อันเป็นความผิดสำเร็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 แล้ว โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุบายหลอกลวงขู่เข็ญใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีข่มขืนใจประการอื่น ทั้งไม่จำเป็นต้องให้มีผู้อื่นมาสำเร็จความใคร่กับนางสาววรรณาเสียก่อน
สำหรับการที่จำเลยที่ 1 กระทำแก่นางสมจิตรผู้เสียหายโดยผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่ ในเมื่อนางสมจิตรไม่ยินยอม และบางครั้งปิดประตูใส่กุญแจข้างนอก ขังนางสมจิตรไว้กับชายที่มาเที่ยวแล้วคอยเฝ้าอยู่ ย่อมเป็นการหน่วงเหนี่ยวกักขังนางสมจิตรให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 310 แล้ว
ส่วนการที่จำเลยที่ 1 รับตัวนางสาววรรณาผู้เสียหายอายุ 16 ปี ซึ่งถูกหลอกลวงมาไว้เป็นโสเภณีในสำนักของตน ก็ได้ชื่อว่าเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของชายที่มาเที่ยว และจำเลยที่ 1 ได้เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งนางสาววรรณา อันเป็นความผิดสำเร็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 แล้ว โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุบายหลอกลวงขู่เข็ญใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีข่มขืนใจประการอื่น ทั้งไม่จำเป็นต้องให้มีผู้อื่นมาสำเร็จความใคร่กับนางสาววรรณาเสียก่อน
สำหรับการที่จำเลยที่ 1 กระทำแก่นางสมจิตรผู้เสียหายโดยผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่ ในเมื่อนางสมจิตรไม่ยินยอม และบางครั้งปิดประตูใส่กุญแจข้างนอก ขังนางสมจิตรไว้กับชายที่มาเที่ยวแล้วคอยเฝ้าอยู่ ย่อมเป็นการหน่วงเหนี่ยวกักขังนางสมจิตรให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 310 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1523/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค้าประเวณี, หน่วงเหนี่ยวกักขัง, ความผิดฐานค้ามนุษย์, การกระทำความผิดหลายบท, การลงโทษ
เมื่อคดีฟังได้ว่าจำเลยที่ 1 เจ้าของกิจการสถานค้าประเวณีรับตัวนางสมจิตรผู้เสียหายไว้ แล้วบังคับให้ค้าประเวณี. ครั้นนางสมจิตรไม่ยินยอมก็ถูกผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่. เมื่อขัดขืนต่อไปอีกก็ถูกจำเลยที่ 1 ตบหน้า. และบางครั้งเมื่อนางสมจิตรถูกชายดึงเข้าไปในห้องแล้ว จำเลยที่ 1 ก็ใส่กุญแจห้องข้างนอกและคอยเฝ้าอยู่. ทั้งยังตะโกนบอกชายที่มาเที่ยวว่าให้ตบตีได้ถ้านางสมจิตรไม่ยอม. ถือได้ว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 เช่นนี้เป็นการกระทำเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น. เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งหญิงโดยใช้กำลังประทุษร้าย. อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 283 แล้ว. แต่ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 282.เพราะนางสมจิตรอายุเกิน 18 ปี. และไม่เป็นความผิดตามมาตรา 284. เพราะเป็นการกระทำเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น. มิใช่เพื่อสำเร็จความใคร่ของตนเองหรือผู้ร่วมกระทำความผิดกับตน.
ส่วนการที่จำเลยที่ 1 รับตัวนางสาววรรณาผู้เสียหายอายุ 16 ปี ซึ่งถูกหลอกลวงมาไว้เป็นโสเภณีในสำนักของตน ก็ได้ชื่อว่าเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของชายที่มาเที่ยว. และจำเลยที่ 1 ได้เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งนางสาววรรณา อันเป็นความผิดสำเร็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 แล้ว. โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุบายหลอกลวงขู่เข็ญ.ใช้กำลังประทุษร้าย. ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม. หรือใช้วิธีข่มขืนใจประการอื่น. ทั้งไม่จำเป็นต้องให้มีผู้อื่นมาสำเร็จความใคร่กับนางสาววรรณาเสียก่อน.
สำหรับการที่จำเลยที่ 1 กระทำแก่นางสมจิตรผู้เสียหายโดยผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่. ในเมื่อนางสมจิตรไม่ยินยอม. และบางครั้งปิดประตูใส่กุญแจข้างนอก ขังนางสมจิตรไว้กับชายที่มาเที่ยวแล้วคอยเฝ้าอยู่. ย่อมเป็นการหน่วงเหนี่ยวกักขังนางสมจิตรให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 310 แล้ว.
ส่วนการที่จำเลยที่ 1 รับตัวนางสาววรรณาผู้เสียหายอายุ 16 ปี ซึ่งถูกหลอกลวงมาไว้เป็นโสเภณีในสำนักของตน ก็ได้ชื่อว่าเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของชายที่มาเที่ยว. และจำเลยที่ 1 ได้เป็นธุระจัดหาเพื่อการอนาจารซึ่งนางสาววรรณา อันเป็นความผิดสำเร็จตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 แล้ว. โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุบายหลอกลวงขู่เข็ญ.ใช้กำลังประทุษร้าย. ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม. หรือใช้วิธีข่มขืนใจประการอื่น. ทั้งไม่จำเป็นต้องให้มีผู้อื่นมาสำเร็จความใคร่กับนางสาววรรณาเสียก่อน.
สำหรับการที่จำเลยที่ 1 กระทำแก่นางสมจิตรผู้เสียหายโดยผลักเข้าไปในห้องที่มีชายรออยู่. ในเมื่อนางสมจิตรไม่ยินยอม. และบางครั้งปิดประตูใส่กุญแจข้างนอก ขังนางสมจิตรไว้กับชายที่มาเที่ยวแล้วคอยเฝ้าอยู่. ย่อมเป็นการหน่วงเหนี่ยวกักขังนางสมจิตรให้ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 310 แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาสมคบฉุดคร่าข่มขืน ไม่ถึงเจตนาปล้นทรัพย์ แม้พรรคพวกจะกระทำ
จำเลยสมคบร่วมกับพวกไปดักฉุดคร่าผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารและข่มขืนกระทำชำเรา มิได้มุ่งประสงค์ต่อทรัพย์แต่พรรคพวกของจำเลยได้ล้วงกระเป๋าเอาทรัพย์ของผู้เสียหายอีกคนหนึ่งไปด้วย อันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในฉับพลันทันที จะฟังว่าจำเลยสมคบรู้เห็นกับพวกในการลักทรัพย์ผู้เสียหายนั้นด้วยไม่ได้ จำเลยคงมีผิดฐานฉุดคร่าและข่มขืนกระทำชำเราเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาสมคบคิด: การแยกแยะความผิดฐานฉุดคร่าข่มขืนกับความผิดฐานปล้นทรัพย์ แม้มีเหตุการณ์ชิงทรัพย์เกิดขึ้น
จำเลยสมคบร่วมกับพวกไปดักฉุดคร่าผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารและข่มขืนกระทำชำเรา มิได้มุ่งประสงค์ต่อทรัพย์แต่พรรคพวกของจำเลยได้ล้วงกระเป๋าเอาทรัพย์ของผู้เสียหายอีกคนหนึ่งไปด้วย อันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในฉับพลันทันที จะฟังว่าจำเลยสมคบรู้เห็นกับพวกในการลักทรัพย์ผู้เสียหายนั้นด้วยไม่ได้จำเลยคงมีผิดฐานฉุดคร่าและข่มขืนกระทำชำเราเท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาสมคบข่มขืนกระทำชำเรา ไม่ถือเป็นการสมคบปล้นทรัพย์ แม้จะมีเหตุการณ์ลักทรัพย์เกิดขึ้น
จำเลยสมคบร่วมกับพวกไปดักฉุดคร่าผู้เสียหายไปเพื่อการอนาจารและข่มขืนกระทำชำเรา มิได้มุ่งประสงค์ต่อทรัพย์.แต่พรรคพวกของจำเลยได้ล้วงกระเป๋าเอาทรัพย์ของผู้เสียหายอีกคนหนึ่งไปด้วย อันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในฉับพลันทันที. จะฟังว่าจำเลยสมคบรู้เห็นกับพวกในการลักทรัพย์ผู้เสียหายนั้นด้วยไม่ได้. จำเลยคงมีผิดฐานฉุดคร่าและข่มขืนกระทำชำเราเท่านั้น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวเด็กในระหว่างพิจารณาคดีและการหักวันกักขังเมื่อศาลเปลี่ยนโทษเป็นสถานฝึกอบรม
เด็กที่ถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีตามหมายของศาลซึ่งให้สถานพินิจควบคุมไว้นั้น มาตรา 16 (4) แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็ก พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 6 ให้อำนาจสถานพินิจฯ ส่งตัวไปกักไว้ที่เรือนจำได้ โดยถือว่าอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจ เมื่อเด็กถูกพิพากษาลงโทษศาลจะคิดหักวันที่ถูกกักอยู่ในเรือนจำให้ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ก็ได้
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า "ลงโทษ" อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วย เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรมอันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า "ลงโทษ" อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วย เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรมอันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวเด็กในระหว่างพิจารณาคดีและการหักวันควบคุมตัวเมื่อศาลเปลี่ยนโทษเป็นวิธีการสำหรับเด็กและเยาวชน
เด็กที่ถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีตามหมายของศาลซึ่งให้สถานพินิจควบคุมไว้นั้น มาตรา 16(4) แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กพ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 6 ให้อำนาจสถานพินิจฯ ส่งตัวไปกักไว้ที่เรือนจำได้ โดยถือว่าอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจ เมื่อเด็กถูกพิพากษาลงโทษศาลจะคิดหักวันที่ถูกกักอยู่ในเรือนจำให้ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ก็ได้
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า 'ลงโทษ' อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วยเพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรม อันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า 'ลงโทษ' อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วยเพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรม อันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1235/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความร่วมมือในการพาผู้อื่นไปเพื่ออนาจาร: การกระทำของคนขับรถถือเป็นตัวการร่วม
ขณะจำเลยที่ 1 ลงไปฉุดผู้เสียหายขึ้นรถ จำเลยที่ 2 จอดรถติดเครื่องรอคอยอยู่ในระยะใกล้ ๆ จำเลยที่ 1 ฉุดผู้เสียหายแล้ว จำเลยที่ 2 ได้ออกรถขับไปทันที การกระทำตั้งแต่แรกที่จำเลยที่ 1 ฉุดผู้เสียหายมาขึ้นรถตลอดจนพาผู้เสียหายไปหลังจากผู้เสียหายขึ้นรถแล้ว ยังคงถือว่าเป็นการกระทำผิดฐานพาหญิงไปเพื่อการอนาจารอยู่ตลอดเวลา การกระทำของจำเลยที่ 2 ที่ขับรถพาผู้เสียหายกับจำเลยที่ 1 ไป จึงเป็นการกระทำส่วนหนึ่งของการพาผู้เสียหายไป เป็นการร่วมกระทำผิดด้วยกันตามมาตรา 83
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1235/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความร่วมมือในการกระทำผิดฐานพาหญิงไปเพื่อการอนาจาร การกระทำของคนขับรถถือเป็นการร่วมกระทำผิด
ขณะจำเลยที่ 1 ลงไปฉุดผู้เสียหายขึ้นรถ จำเลยที่ 2 จอดรถติดเครื่องรอคอยอยู่ในระยะใกล้ๆ จำเลยที่ 1 ฉุดผู้เสียหายแล้ว จำเลยที่ 2 ได้ออกรถขับไปทันที การกระทำตั้งแต่แรกที่จำเลยที่ 1 ฉุดผู้เสียหายมาขึ้นรถตลอดจนพาผู้เสียหายไปหลังจากผู้เสียหายขึ้นรถแล้ว ยังคงถือว่าเป็นการกระทำผิดฐานพาหญิงไปเพื่อการอนาจารอยู่ตลอดเวลา การกระทำของจำเลยที่ 2 ที่ขับรถพาผู้เสียหายกับจำเลยที่ 1 ไปจึงเป็นการกระทำส่วนหนึ่งของการพาผู้เสียหายไป เป็นการร่วมกระทำผิดกันตามมาตรา 83
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 975/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉุดคร่าเพื่ออนาจาร-ข่มขืน ร่วมกันฆ่าขัดขวางเพื่อความสะดวกในการกระทำผิด
จำเลยกับพวกร่วมกันฉุดคร่าผู้เสียหายเพื่อประโยชน์ของจำเลยที่จะทำอนาจารและข่มขืนกระทำชำเรา ขณะที่การกระทำผิดฐานฉุดคร่ายังไม่สำเร็จ บิดาของผู้เสียหายวิ่งติดตามไปเพื่อขัดขวาง จำเลยสั่งให้พวกของจำเลยให้ช้อาวุธปืนยิงบิดาผู้เสียหายถึงแก่ความตาย ดังนี้ จำเลยผิดฐานร่วมเป็นตัวการฆ่าเพื่อให้เป็นความสะดวกในการที่จำเลยกับพวกจะทำการฉุดคร่าผู้เสียหายและเพื่อจำเลยจะได้ตัวผู้เสียหายไว้เพื่อทำอนาจารและข่มขืนกระทำชำเราอันเป็นผลประโยชน์อันเกิดแต่การกระทำผิดตามมาตรา 289(6) และ(7).