พบผลลัพธ์ทั้งหมด 728 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 426/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยเป็นมรดก ทายาทมีสิทธิเรียกค่าชดเชยทั้งหมดจากนายจ้างได้
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยเป็นสิทธิอย่างหนึ่งซึ่งถือได้ว่า เป็นมรดก ย่อมตกทอดแก่โจทก์ซึ่งเป็นทายาทของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมได้
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยนี้ทายาททุกคนมีสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้โดยทำนองซึ่งแต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำระหนี้สิ้นเชิงได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 298 โจทก์เป็นทายาทคนหนึ่งของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมจึงมีสิทธิเรียกร้องค่าชดเชยทั้งหมดจากจำเลยได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่น
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยนี้ทายาททุกคนมีสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้โดยทำนองซึ่งแต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำระหนี้สิ้นเชิงได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 298 โจทก์เป็นทายาทคนหนึ่งของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมจึงมีสิทธิเรียกร้องค่าชดเชยทั้งหมดจากจำเลยได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 426/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยเป็นมรดก ทายาทมีสิทธิได้รับค่าชดเชยทั้งหมดจากนายจ้าง
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยเป็นสิทธิอย่างหนึ่งซึ่งถือได้ว่าเป็นมรดก ย่อมตกทอดแก่โจทก์ซึ่งเป็นทายาทของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมได้
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยนี้ทายาททุกคนมีสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้โดยทำนองซึ่งแต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำระหนี้สิ้นเชิงได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 298 โจทก์เป็นทายาทคนหนึ่งของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมจึงมีสิทธิเรียกร้องค่าชดเชยทั้งหมดจากจำเลยได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่น
สิทธิเรียกร้องค่าชดเชยนี้ทายาททุกคนมีสิทธิเรียกร้องการชำระหนี้โดยทำนองซึ่งแต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำระหนี้สิ้นเชิงได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 298 โจทก์เป็นทายาทคนหนึ่งของลูกจ้างผู้ถึงแก่กรรมจึงมีสิทธิเรียกร้องค่าชดเชยทั้งหมดจากจำเลยได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากทายาทอื่น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 414/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณค่าล่วงเวลา: การทำงานนอกเวลาปกติและในวันหยุด จำเป็นต้องพิจารณาเวลาทำงานปกติและช่วงพัก
จำเลยซึ่งเป็นนายจ้างมีคำสั่งกำหนดเวลาทำงานปกติของพนักงานคือ 8.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา การทำงานนอกเวลาดังกล่าวจึงต้องถือว่าเป็นการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ โจทก์ได้รับคำสั่งให้ทำงานในวันหยุดตั้งแต่ 13.00 นาฬิกา ถึง 6.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น โดยมีช่วงหยุดพักระหว่าง 17.00 นาฬิกา ถึง 18.00 นาฬิกา และ 24.00 นาฬิกา ถึง 1.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น เช่นนี้ รวมระยะเวลาที่โจทก์ทำงานล่วงเวลาคือ 11 ชั่วโมง ซึ่งจำเลยต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้แก่โจทก์ในอัตราสามเท่าของค่าจ้างในวันทำงานสำหรับจำนวนชั่วโมงที่ทำงานเกินเวลาทำงานปกติ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 414/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าล่วงเวลา: การคำนวณชั่วโมงทำงานปกติและล่วงเวลาในวันหยุด จำเป็นต้องพิจารณาเวลาทำงานปกติที่นายจ้างกำหนด
จำเลยซึ่งเป็นนายจ้างมีคำสั่งกำหนดเวลาทำงานปกติของพนักงานคือ 8.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา การทำงานนอกเวลาดังกล่าวจึงต้องถือว่าเป็นการทำงานนอกเวลาทำงานปกติ โจทก์ได้รับคำสั่งให้ทำงานในวันหยุดตั้งแต่ 13.00 นาฬิกา ถึง 6.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น โดยมีช่วงหยุดพักระหว่าง 17.00 นาฬิกา ถึง18.00 นาฬิกา และ 24.00 นาฬิกา ถึง 1.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น เช่นนี้ รวมระยะเวลาที่โจทก์ทำงานล่วงเวลาคือ 11 ชั่วโมง ซึ่งจำเลยต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้แก่โจทก์ในอัตราสามเท่าของค่าจ้างในวันทำงานสำหรับจำนวนชั่วโมงที่ทำงานเกินเวลาทำงานปกติ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 172/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมเดียว ความผิดฐานฆ่า: เจตนาฆ่าจำเลยมุ่งเป้าที่ภรรยา การแทงบุตรเป็นการกระทำต่อเนื่อง
จำเลยใช้มีดแทง ส.ภรรยาจำเลยขณะที่ส.อุ้มอบุตรอยู่ มีดที่จำเลยแทงส.จึงถูกอ.ด้วย แต่จำเลยมิได้มีเจตนาฆ่าอ.แม้ อ. จะถูกมีดหลายครั้งมีบาดแผลหลายแห่งก็เป็นการแทงเพื่อเจตนาฆ่า ส. เท่านั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดกรรมเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 172/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่ากรรมเดียว: การแทงภรรยาขณะอุ้มบุตร แม้บุตรถูกมีดบ้าง แต่เจตนาคือฆ่าภรรยา
จำเลยใช้มีดแทง ส. ภรรยาจำเลยขณะที่ ส. อุ้ม อ.บุตรอยู่ มีดที่จำเลยแทง ส. จึงถูก อ. ด้วย แต่จำเลยมิได้มีเจตนาฆ่า อ.แม้ อ. จะถูกมีดหลายครั้งมีบาดแผลหลายแห่งก็เป็นการแทงเพื่อเจตนาฆ่า ส. เท่านั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดกรรมเดียว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3916/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเมื่อมีการบังคับคดี การแยกพิจารณาสิทธิของผู้รับจำนองในที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
สิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 ที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้ปลูกอยู่บนที่ดินของจำเลยที่ 2 การที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยที่ 2 ในส่วนที่เป็นที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวด้วย ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของผู้ร้องซึ่งเป็นผู้รับจำนองที่ดินจากจำเลยที่ 2 ผู้ร้องจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอต่อศาลให้ปล่อยที่ดินส่วนดังกล่าวซึ่งมิใช่เป็นทรัพย์สินของจำเลยที่ 1 ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288
สำหรับสิ่งปลูกสร้างที่ผู้ร้องรับจำนองไว้จากจำเลยที่ 1นั้น ยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1เจ้าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิที่จะยึดและนำออกขายทอดตลาดเพื่อเอาเงินชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามคำพิพากษาได้ ผู้ร้องชอบที่จะขอรับชำระหนี้จำนองจากเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดก่อนเจ้าหนี้อื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา289 หรือหากผู้ร้องไม่ขอรับชำระหนี้จำนอง สิทธิจำนองของผู้ร้องซึ่งอาจร้องขอให้บังคับเหนือสิ่งปลูกสร้างนั้นก็ไม่ถูกกระทบกระทั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287 ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยสิ่งปลูกสร้างนั้น
สำหรับสิ่งปลูกสร้างที่ผู้ร้องรับจำนองไว้จากจำเลยที่ 1นั้น ยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1เจ้าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิที่จะยึดและนำออกขายทอดตลาดเพื่อเอาเงินชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามคำพิพากษาได้ ผู้ร้องชอบที่จะขอรับชำระหนี้จำนองจากเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดก่อนเจ้าหนี้อื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา289 หรือหากผู้ร้องไม่ขอรับชำระหนี้จำนอง สิทธิจำนองของผู้ร้องซึ่งอาจร้องขอให้บังคับเหนือสิ่งปลูกสร้างนั้นก็ไม่ถูกกระทบกระทั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287 ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยสิ่งปลูกสร้างนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3916/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์ที่ตั้งบนที่ดินจำนอง ผู้รับจำนองมีสิทธิคัดค้านการยึดที่ดิน แต่ไม่มีสิทธิคัดค้านการยึดสิ่งปลูกสร้าง
สิ่งปลูกสร้างของจำเลยที่ 1 ที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้ปลูกอยู่บนที่ดินของจำเลยที่ 2 การที่โจทก์นำเจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินของจำเลยที่ 2 ในส่วนที่เป็นที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวด้วย ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของผู้ร้องซึ่งเป็นผู้รับจำนองที่ดินจากจำเลยที่ 2 ผู้ร้องจึงมีสิทธิยื่นคำร้องขอต่อศาลให้ปล่อยที่ดินส่วนดังกล่าวซึ่งมิใช่เป็นทรัพย์สินของจำเลยที่ 1 ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 288
สำหรับสิ่งปลูกสร้างที่ผู้ร้องรับจำนองไว้จากจำเลยที่ 1 นั้น ยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 เจ้าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิที่จะยึดและนำออกขายทอดตลาดเพื่อเอาเงินชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามคำพิพากษาได้ ผู้ร้องชอบที่จะขอรับชำระหนี้จำนองจากเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดก่อนเจ้าหนี้อื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 289 หรือหากผู้ร้องไม่ขอรับชำระหนี้จำนอง สิทธิจำนองของผู้ร้องซึ่งอาจร้องขอให้บังคับเหนือสิ่งปลูกสร้างนั้นก็ไม่ถูกกระทบกระทั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยสิ่งปลูกสร้างนั้น
สำหรับสิ่งปลูกสร้างที่ผู้ร้องรับจำนองไว้จากจำเลยที่ 1 นั้น ยังเป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยที่ 1 เจ้าพนักงานบังคับคดีมีสิทธิที่จะยึดและนำออกขายทอดตลาดเพื่อเอาเงินชำระหนี้ให้แก่โจทก์ตามคำพิพากษาได้ ผู้ร้องชอบที่จะขอรับชำระหนี้จำนองจากเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดก่อนเจ้าหนี้อื่นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 289 หรือหากผู้ร้องไม่ขอรับชำระหนี้จำนอง สิทธิจำนองของผู้ร้องซึ่งอาจร้องขอให้บังคับเหนือสิ่งปลูกสร้างนั้นก็ไม่ถูกกระทบกระทั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 ผู้ร้องจึงไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยสิ่งปลูกสร้างนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3883/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการได้รับสินบนนำจับตาม พ.ร.บ.ป่าไม้ เมื่อไม่มีผู้นำจับ โจทก์ไม่มีอำนาจขอ
ตำรวจพบผู้กระทำผิดต่อพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484ซึ่งหน้าจึงจับกุมตามอำนาจและหน้าที่ซึ่งมีอยู่ตามกฎหมายกรณีไม่มีผู้นำจับ พนักงานอัยการโจทก์ไม่มีอำนาจขอให้ศาลสั่งจ่ายสินบนนำจับตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 74 จัตวา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3843/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลเมื่อจำหน่ายคดีขาดนัด: ศาลไม่คืนค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ที่ต้องเสียเมื่อยื่นฟ้อง
โจทก์ขอบังคับให้จำเลยโอนขายที่ดินราคา 460,000 บาทถ้าไม่สามารถโอนขายได้ ให้ใช้ค่าเสียหาย 1,940,000บาท คำขอข้อหลังจะใช้บังคับเมื่อคำขอข้อแรกบังคับไม่ได้ โจทก์ต้องเสียค่าขึ้นศาลในทุนทรัพย์ที่สูงกว่าคือทุนทรัพย์ 1,940,000 บาท
เมื่อโจทก์ขาดนัดพิจารณาและศาลมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีแล้วไม่มีกฎหมายบัญญัติให้คืนค่าขึ้นศาลให้แก่โจทก์ดังกรณีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 151
เมื่อโจทก์ขาดนัดพิจารณาและศาลมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีแล้วไม่มีกฎหมายบัญญัติให้คืนค่าขึ้นศาลให้แก่โจทก์ดังกรณีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 151