พบผลลัพธ์ทั้งหมด 728 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3176/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งเงินทดแทนคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง โจทก์มีสิทธิฟ้องเพิกถอนได้ แม้โจทก์ให้ข้อมูลคลาดเคลื่อนเอง
เมื่อปรากฏว่าหลังจากประสบอันตรายแล้วลูกจ้างโจทก์ไปทำงานตามปกติทุกวัน แต่จำเลยฟังข้อเท็จจริงผิดไปว่าลูกจ้างโจทก์ไม่สามารถทำงานได้เป็นเวลา 21 วัน จึงได้ออกคำสั่งให้โจทก์จ่ายค่าทดแทนกรณีลูกจ้างไม่สามารถทำงานได้ คำสั่งของจำเลยจึงไม่ชอบ และแม้โจทก์จะเป็นผู้ทำให้จำเลยเข้าใจข้อเท็จจริงนี้ผิดไปก็ตาม การเพิกถอนคำสั่งของจำเลยอันเกิดจากความเข้าใจผิดก็ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จำเลยแต่อย่างใด ทั้งหามีกฎหมายใดบัญญัติให้โจทก์สิ้นสิทธิที่จะนำคดีมาสู่ศาลในกรณีนี้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3176/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งเงินทดแทนคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง ลูกจ้างมีสิทธิฟ้องเพิกถอน แม้ผู้ฟ้องมีส่วนทำให้เข้าใจผิด
เมื่อปรากฏว่าหลังจากประสบอันตรายแล้วลูกจ้างโจทก์ไปทำงานตามปกติทุกวัน แต่จำเลยฟังข้อเท็จจริงผิดไปว่าลูกจ้างโจทก์ไม่สามารถทำงานได้เป็นเวลา 21 วัน จึงได้ออกคำสั่งให้โจทก์จ่ายค่าทดแทนกรณีลูกจ้างไม่สามารถทำงานได้ คำสั่งของจำเลยจึงไม่ชอบ และแม้โจทก์จะเป็นผู้ทำให้จำเลยเข้าใจข้อเท็จจริงนี้ผิดไปก็ตาม การเพิกถอนคำสั่งของจำเลยอันเกิดจากความเข้าใจผิดก็ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่จำเลยแต่อย่างใด ทั้งหามีกฎหมายใดบัญญัติให้โจทก์สิ้นสิทธิที่จะนำคดีมาสู่ศาลในกรณีนี้ไม่ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3147/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงค่าจ้างกรณีไม่มีงานทำ ไม่ขัดกับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ หากไม่ใช่การกำหนดอัตราค่าจ้างสำหรับเวลาทำงานปกติ
การที่นายจ้างกับลูกจ้างทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตามข้อเรียกร้องของลูกจ้างกำหนดอัตราค่าจ้างในกรณีนายจ้างไม่มีงานให้ทำต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ไม่เป็นการขัดกับประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เพราะมิใช่เป็นการกำหนดอัตราค่าจ้างสำหรับเวลาทำงานปกติ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3147/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงค่าจ้างกรณีไม่มีงานทำ ไม่ขัดต่อประกาศอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ หากไม่ใช่การกำหนดอัตราค่าจ้างสำหรับเวลาทำงานปกติ
การที่นายจ้างกับลูกจ้างทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างตามข้อเรียกร้องของลูกจ้างกำหนดอัตราค่าจ้างในกรณีนายจ้างไม่มีงานให้ทำต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ไม่เป็นการขัดกับประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ เพราะมิใช่เป็นการกำหนดอัตราค่าจ้างสำหรับเวลาทำงานปกติ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3137/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา และความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
การที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ต่อศาลอาญาในข้อหาว่ายักยอกเวชภัณฑ์และยาจำนวนเดียวกันกับคดีนี้ ขอให้ลงโทษและให้จำเลยที่ 1 คืนหรือใช้ราคายา เป็นการฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา เมื่อคดีถึงที่สุดโดยศาลวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกไปจากคลังเวชภัณฑ์อนามัยภาค 6 ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 เพียงครั้งเดียว พิพากษาให้ลงโทษจำเลยที่ 1กับให้คืนหรือใช้ราคายา คำพิพากษาดังกล่าวย่อมผูกพันโจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายในคดีอาญาเพราะถือว่าพนักงานอัยการฟ้องคดีแทนโจทก์ ทั้งโจทก์ต้องห้ามมิให้นำคดีมารื้อร้องฟ้องจำเลยที่ 1 อีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ได้ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ 1 ไว้ต่อโจทก์ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แต่พิพากษายกฟ้องเพราะฟังไม่ได้ว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์จำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์หรือแก้อุทธรณ์คัดค้านคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าว ทั้งยังได้กล่าวในคำแก้อุทธรณ์ว่า คำพิพากษาศาลชั้นต้นชอบแล้วปะเด็นที่จำเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 ไป จึงยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้แทนโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายในการฟ้องคดีนี้ จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ สำหรับยาและเวชภัณฑ์ที่จำเลยที่ 1 เบิกจากคลังเวชภัณฑ์ภาค 6 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แล้วยักยอกเอาไป
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ได้ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ 1 ไว้ต่อโจทก์ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แต่พิพากษายกฟ้องเพราะฟังไม่ได้ว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์จำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์หรือแก้อุทธรณ์คัดค้านคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าว ทั้งยังได้กล่าวในคำแก้อุทธรณ์ว่า คำพิพากษาศาลชั้นต้นชอบแล้วปะเด็นที่จำเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 ไป จึงยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นผู้แทนโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายในการฟ้องคดีนี้ จำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ สำหรับยาและเวชภัณฑ์ที่จำเลยที่ 1 เบิกจากคลังเวชภัณฑ์ภาค 6 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แล้วยักยอกเอาไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3137/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ยักยอกทรัพย์ ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดตามสัญญา
การที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ต่อศาลอาญาในข้อหาว่ายักยอกเวชภัณฑ์และยาจำนวนเดียวกันกับคดีนี้ ขอให้ลงโทษและให้จำเลยที่ 1 คืนหรือใช้ราคายาเป็นการฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา เมื่อคดีถึงที่สุดโดยศาลวินิจฉัยว่า จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกไปจากคลังเวชภัณฑ์อนามัยภาค 6 ในวันที่17 กุมภาพันธ์ 2520 เพียงครั้งเดียว พิพากษาให้ลงโทษจำเลยที่ 1 กับให้คืนหรือใช้ราคายา คำพิพากษาดังกล่าวย่อมผูกพันโจทก์ซึ่งเป็นผู้เสียหายในคดีอาญาเพราะถือว่าพนักงานอัยการฟ้องคดีแทนโจทก์ ทั้งโจทก์ต้องห้ามมิให้นำคดีมารื้อร้องฟ้องจำเลยที่ 1 อีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ได้ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ 1 ไว้ต่อโจทก์ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แต่พิพากษายกฟ้องเพราะฟังไม่ได้ว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์จำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์หรือแก้อุทธรณ์คัดค้านคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าว ทั้งยังได้กล่าวในคำแก้อุทธรณ์ว่า คำพิพากษาศาลชั้นต้นชอบแล้ว ปะเด็นที่จำเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกเมื่อวันที่ 17กุมภาพันธ์ 2520 ไป จึงยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นผู้แทนโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายในการฟ้องคดีนี้ จำเลยที่ 2ในฐานะผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ สำหรับยาและเวชภัณฑ์ที่จำเลยที่1เบิกจากคลังเวชภัณฑ์ภาค 6 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แล้วยักยอกเอาไป
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าจำเลยที่ 2 ได้ทำสัญญาค้ำประกันการทำงานของจำเลยที่ 1 ไว้ต่อโจทก์ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แต่พิพากษายกฟ้องเพราะฟังไม่ได้ว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการมีอำนาจฟ้องคดีแทนโจทก์จำเลยที่ 2 มิได้อุทธรณ์หรือแก้อุทธรณ์คัดค้านคำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นดังกล่าว ทั้งยังได้กล่าวในคำแก้อุทธรณ์ว่า คำพิพากษาศาลชั้นต้นชอบแล้ว ปะเด็นที่จำเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 ในการที่จำเลยที่ 1 ยักยอกเอายาที่เบิกเมื่อวันที่ 17กุมภาพันธ์ 2520 ไป จึงยุติตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังว่านายธำรง รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นผู้แทนโจทก์โดยชอบด้วยกฎหมายในการฟ้องคดีนี้ จำเลยที่ 2ในฐานะผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดต่อโจทก์ สำหรับยาและเวชภัณฑ์ที่จำเลยที่1เบิกจากคลังเวชภัณฑ์ภาค 6 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2520 แล้วยักยอกเอาไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3130/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลาหยุดงานและการเลิกจ้าง: การใช้ดุลพินิจของนายจ้าง, การละทิ้งหน้าที่, และสิทธิลูกจ้าง
โจทก์ยื่นใบลากิจขอลาหยุด 2 วัน แต่หัวหน้าหน่วยอนุญาตให้ลาได้เพียง 1 วันนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจในการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ลามิใช่เป็นการสั่งให้โจทก์กระทำการหรือมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดตามหน้าที่ของลูกจ้าง ฉะนั้นการที่โจทก์หยุดงานเกินกว่าที่ได้รับอนุญาตให้ลาจึงถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
การที่ลูกจ้างแสดงกิริยากระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชาไม่เป็นข้อยกเว้นที่จะให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยมิต้องจ่ายค่าชดเชย
กรณีลูกจ้างละทิ้งหน้าที่อันเป็นเหตุให้นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างนั้นจะต้องเป็นการละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การที่ลูกจ้างแสดงกิริยากระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชาไม่เป็นข้อยกเว้นที่จะให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยมิต้องจ่ายค่าชดเชย
กรณีลูกจ้างละทิ้งหน้าที่อันเป็นเหตุให้นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างนั้นจะต้องเป็นการละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3130/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลาหยุดและการเลิกจ้าง: การใช้ดุลพินิจของนายจ้าง และการละทิ้งหน้าที่
โจทก์ยื่นใบลากิจขอลาหยุด 2 วัน แต่หัวหน้าหน่วยอนุญาตให้ลาได้เพียง 1 วันนั้น เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจในการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ลา มิใช่เป็นการสั่งให้โจทก์กระทำการ หรือมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดตามหน้าที่ของลูกจ้าง ฉะนั้นการที่โจทก์หยุดงานเกินกว่าที่ได้รับอนุญาตให้ลาจึงถือไม่ได้ว่าเป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
การที่ลูกจ้างแสดงกิริยากระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชา ไม่เป็นข้อยกเว้นที่จะให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยมิต้องจ่ายค่าชดเชย
กรณีลูกจ้างละทิ้งหน้าที่อันเป็นเหตุให้นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างนั้น จะต้องเป็นการละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
การที่ลูกจ้างแสดงกิริยากระด้างกระเดื่องต่อผู้บังคับบัญชา ไม่เป็นข้อยกเว้นที่จะให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยมิต้องจ่ายค่าชดเชย
กรณีลูกจ้างละทิ้งหน้าที่อันเป็นเหตุให้นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้างนั้น จะต้องเป็นการละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3128/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากดื่มสุราขณะปฏิบัติหน้าที่ แม้ไม่ถึงขั้นมึนเมา ถือเป็นความผิดร้ายแรง ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์เป็นพนักงานของการรถไฟแห่งประเทศไทย จำเลย มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยนายสถานี ได้ร่วมดื่มสุรากับบุคคลภายนอกในห้องนายสถานีในขณะปฏิบัติงานในหน้าที่เกี่ยวกับการเดินรถ แม้จะไม่ถึงขั้นมึนเมา ก็ถือว่าการกระทำของโจทก์อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่การรถไฟแห่งประเทศไทยและประชาชนอย่างร้ายแรงได้ จำเลยจึงชอบที่จะลงโทษโจทก์ไล่ออกตามกฎข้อบังคับและระเบียบการเดินรถและประมวลการลงโทษผู้ปฏิบัติงานของการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ กรณีมิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3128/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างข้าราชการรถไฟที่ดื่มสุราขณะปฏิบัติงาน แม้ไม่ถึงขั้นมึนเมา ถือเป็นการกระทำผิดร้ายแรงและชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์เป็นพนักงานของการรถไฟแห่งประเทศไทย จำเลย มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยนายสถานี ได้ร่วมดื่มสุรากับบุคคลภายนอกในห้องนายสถานีในขณะปฏิบัติงานในหน้าที่เกี่ยวกับการเดินรถ แม้จะไม่ถึงขั้นมึนเมา ก็ถือว่าการกระทำของโจทก์อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่การรถไฟแห่งประเทศไทยและประชาชนอย่างร้ายแรงได้ จำเลยจึงชอบที่จะลงโทษโจทก์ไล่ออกตามกฎข้อบังคับและระเบียบการเดินรถ และประมวลการลงโทษผู้ปฏิบัติงานของการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ กรณีมิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม