พบผลลัพธ์ทั้งหมด 416 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3861/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างและสหภาพแรงงานต้องมีเหตุสมควร มิใช่แค่ผลขาดทุนหรือหลัก 'มาทีหลังออกก่อน'
การที่นายจ้างประสบปัญหาขาดทุนจนต้องลดการผลิตแต่ยังไม่ถึงกับยุบหน่วยงานเสียทั้งหน่วยหรือเลิกกิจการไปยังไม่มีเหตุผลเพียงพอและสมควรที่นายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้าง อนุกรรมการ และกรรมการสหภาพแรงงานได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3840/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินค่าครองชีพที่จ่ายให้ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจถือเป็นค่าจ้าง จึงต้องนำมาคำนวณค่าทดแทนกรณีประสบอันตรายจากการทำงาน
เมื่อปรากฏว่าโจทก์จ่ายเงินค่าครองชีพให้ลูกจ้างทุกเดือนมีจำนวนแน่นอนไม่แตกต่างไปจากการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้าง ถือได้ว่าเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงานเงินค่าครองชีพจึงเป็นค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 2
เมื่อเงินค่าครองชีพที่โจทก์จ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าจ้างจึงต้องนำมาคำนวณเป็นค่าทดแทนด้วย
เมื่อเงินค่าครองชีพที่โจทก์จ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าจ้างจึงต้องนำมาคำนวณเป็นค่าทดแทนด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3840/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินค่าครองชีพเป็นค่าจ้างตามกฎหมาย: การคำนวณค่าทดแทนกรณีประสบอันตรายจากการทำงาน
เมื่อปรากฏว่าโจทก์จ่ายเงินค่าครองชีพให้ลูกจ้างทุกเดือนมีจำนวนแน่นอนไม่แตกต่างไปจากการจ่ายเงินเดือนหรือค่าจ้าง ถือได้ว่าเป็นการจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงานเงินค่าครองชีพจึงเป็นค่าจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 2
เมื่อเงินค่าครองชีพที่โจทก์จ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าจ้างจึงต้องนำมาคำนวณเป็นค่าทดแทนด้วย
เมื่อเงินค่าครองชีพที่โจทก์จ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าจ้างจึงต้องนำมาคำนวณเป็นค่าทดแทนด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3834/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสัมพันธ์จ้างแรงงาน การกระทำในทางการที่จ้าง และความรับผิดของผู้ประกอบการต่อความเสียหายที่เกิดจากลูกจ้าง
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 2 มีหน้าที่ขับรถยนต์บรรทุกคันเกิดเหตุรับจ้างบรรทุกหิน ดิน ทรายอันเป็นการทำงานให้แก่จำเลยที่ 2 ผู้เป็นนายจ้าง ภายใต้บังคับบัญชาของนายจ้าง ถึงแม้จำเลยที่ 2 จะจ่ายสินจ้างให้จำเลยที่ 1 เป็นรายเที่ยวก็เป็นแต่เพียงวิธีการคำนวณสินจ้างและกำหนดจ่ายสินจ้างเมื่องานได้ทำแล้วเสร็จหาทำให้อำนาจบังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 เปลี่ยนแปลงไปไม่ความสัมพันธ์ระหว่างจำเลยทั้งสองจึงต้องด้วยลักษณะจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 575 การที่จำเลยที่ 1ขับรถยนต์ของจำเลยที่ 2 เพื่อจะนำไปเก็บ ก็เป็นการปฏิบัติงานของนายจ้างตามที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วงไปย่อมเป็นการกระทำในทางการที่จ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3834/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสัมพันธ์จ้างแรงงาน การกระทำในทางการจ้าง และความรับผิดทางละเมิดของนายจ้างต่อการกระทำของลูกจ้าง
จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 2 มีหน้าที่ขับรถยนต์บรรทุกคันเกิดเหตุรับจ้างบรรทุกหิน ดิน ทราย อันเป็นการทำงานให้แก่จำเลยที่ 2 ผู้เป็นนายจ้าง ภายใต้บังคับบัญชาของนายจ้าง ถึงแม้จำเลยที่ 2 จะจ่ายสินจ้างให้จำเลยที่ 1 เป็นรายเที่ยวก็เป็นแต่เพียงวิธีการคำนวณสินจ้างและกำหนดจ่ายสินจ้างเมื่องานได้ทำแล้วเสร็จหาทำให้อำนาจบังคับบัญชาของจำเลยที่ 2 เปลี่ยนแปลงไปไม่ ความสัมพันธ์ระหว่างจำเลยทั้งสองจึงต้องด้วยลักษณะจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 575 การที่จำเลยที่ 1ขับรถยนต์ของจำเลยที่ 2 เพื่อจะนำไปเก็บ ก็เป็นการปฏิบัติงานของนายจ้างตามที่ได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วงไปย่อมเป็นการกระทำในทางการที่จ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3770-3771/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าจ้างจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม แม้ปฏิบัติตามคำสั่ง คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
แม้จำเลยจะปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์โดยรับโจทก์กลับเข้าทำงานในตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนไม่ต่ำกว่าเดิมและนับอายุการทำงานติดต่อกันแล้วก็ตาม หากจำเลยยังค้างชำระค่าจ้างโจทก์ระหว่างเลิกจ้างอยู่อีก โจทก์ย่อมฟ้องจำเลยให้ชำระค่าจ้างที่ค้างชำระได้ กรณีไม่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต
เมื่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์วินิจฉัยว่า จำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม โจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยได้โดยไม่ต้องย้อนไปร้องเรียนต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์อีก
เมื่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์วินิจฉัยว่า จำเลยเลิกจ้างโจทก์โดยไม่เป็นธรรม โจทก์มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยได้โดยไม่ต้องย้อนไปร้องเรียนต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์อีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3766/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคืนเงินทดรองค่าที่ดินส่วนตัว ไม่เข้าข้อยกเว้นอากรแสตมป์ เพราะเป็นการรับเงินส่วนตัว ไม่ใช่ในฐานะกรรมการ
โจทก์เป็นกรรมการอำนวยการบริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัดโจทก์กับ บริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัด ได้ร่วมกันซื้อที่ดินจากบริษัทสหกรุงเทพพัฒนา จำกัด จำนวน 43 ไร่เป็นของโจทก์ 14 ไร่ ที่เหลือเป็นของบริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัด โจทก์ได้จ่ายเงินชำระค่าที่ดินทั้งหมด 29,000,000 บาท โดยจ่ายทดรองให้บริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัด ไปก่อนเป็นเงิน 20,185,000 บาท ต่อมาบริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัด ได้คืนเงินดังกล่าวให้โจทก์โดยจ่ายเงิน 3 งวด โจทก์ลงชื่อรับเงินไว้ในใบสั่งจ่ายเงินดังกล่าวรวม 3 ฉบับ เอกสารทั้ง 3ฉบับดังกล่าวจึงเป็นบันทึกที่เป็นหลักฐานว่าโจทก์ได้รับ เงินจึงเป็นใบรับตามประมวลรัษฎากร มาตรา 103(ก) และการที่โจทก์รับเงินดังกล่าวเป็นการรับเงินมาเป็นส่วนตัวมิได้รับมาในฐานะเป็นกรรมการอำนวยการ บริษัทยูไนโกคอนสตรัคชั่น จำกัด ใบรับดังกล่าวจึงไม่มีลักษณะเป็นใบรับที่ลูกจ้างและนายจ้างออกให้ซึ่งกันและกันหรือของคณะบุคคลซึ่งกระทำกิจการร่วมกันออกให้ซึ่งกันและกันตามหน้าที่เพื่อดำเนินกิจการของคณะบุคคลนั้น จึงไม่เข้าข้อยกเว้นไม่ต้องเสียอากรตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ข้อ 28 ณใบรับในลักษณะเช่นนี้จึงต้องปิดอากรตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3728/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินเพิ่มจูงใจไม่ใช่ค่าจ้าง, ไม่อาจนำมารวมคำนวณค่าจ้างในวันหยุดได้
เงินเพิ่มจูงใจเป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้เป็นกำลังใจในการทำงานเป็นเงินรางวัลตอบแทนความดีของลูกจ้าง ไม่มีลักษณะเป็นค่าจ้างจึงไม่อาจนำมารวมกับเงินค่าจ้างและค่าครองชีพเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าจ้างให้โจทก์ในวันหยุดได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3728/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เงินเพิ่มจูงใจไม่ใช่ค่าจ้าง ไม่นำมารวมคำนวณค่าจ้างในวันหยุด
เงินเพิ่มจูงใจเป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้เป็นกำลังใจในการทำงาน เป็นเงินรางวัลตอบแทนความดีของลูกจ้าง ไม่มีลักษณะเป็นค่าจ้าง จึงไม่อาจนำมารวมกับเงินค่าจ้างและค่าครองชีพเพื่อเฉลี่ยเป็นค่าจ้างให้โจทก์ในวันหยุดได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3726/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา vs. หลีกเลี่ยงค่าชดเชย: ศาลฎีกาวินิจฉัยประเด็นสัญญาจ้าง 4 ฉบับ
เมื่อตามคำฟ้องและคำให้การคงมีประเด็นโต้เถียงกันเพียงว่าสัญญาจ้างระหว่างโจทก์จำเลยเป็นการจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนหรือไม่ และโจทก์จำเลยรับข้อเท็จจริงกันว่าจำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์รวม 4 ฉบับ สัญญาแต่ละฉบับระบุวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดสัญญาจ้างไว้ จึงถือได้ว่าสัญญาจ้างระหว่างโจทก์จำเลยเป็นการจ้างที่กำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนแล้วดังนั้น การที่ศาลแรงงานกลางวินิจฉัยโดยฟังว่าสัญญาจ้างทั้ง 4 ฉบับ ทำขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงการจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์จึงเป็นการพิพากษานอกฟ้อง