คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ดุสิต วราโห

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,197 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339-2340/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแสดงความคิดเห็นเพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาโดยสุจริต ไม่ถือเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท
จำเลยนำแถบบันทึกเสียงที่ผู้ชายพูดกับผู้หญิงในลักษณะของการให้สัมภาษณ์เป็นใจความว่า ผู้เสียหายได้ ลักลอบได้เสียกับพระภิกษุ ช. เจ้าอาวาส วัดจอมบึง ซึ่ง เป็นเจ้าคณะอำเภอมาเปิดให้บุคคลอื่นฟังที่บ้าน อ. และ ส. ซึ่ง มิใช่ที่สาธารณสถานเป็นทำนองปรึกษาหารือกันว่าควรจะดำเนินการอย่างใดเพื่อให้เกิดความบริสุทธิ์ต่อ พระพุทธศาสนา และหาทางขจัดความมัวหมองในพระพุทธศาสนาให้สิ้นไป หากพระภิกษุ ช. กระทำผิดจริงก็ควรจะสึกออกไป หากไม่จริงก็เอาผิดกับผู้พูดเรื่องนี้ และต่อมาได้ มีการร้องเรียนต่อ ศึกษาธิการอำเภอ จอมบึง เกี่ยวกับพฤติการณ์ของพระภิกษุ ช. และได้ มีบันทึกเสนอต่อ ตามลำดับจนกระทั่งถึง เจ้าคณะภาคฝ่ายมหานิกายจังหวัด ราชบุรี เพื่อสอบหาข้อเท็จจริง จึงถือได้ว่าจำเลยไม่ได้มีเจตนาใส่ความผู้เสียหายให้ถูกดูหมิ่น เกลียดชังหรือเสียหายแต่ เป็นการกระทำในการแสดงข้อความโดยสุจริตด้วย ความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 329(3)ทั้งนี้เพื่อขจัดข่าวลือในทางที่จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมหมดสิ้นไปจำเลยไม่มีความผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339-2340/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแสดงความคิดเห็นเพื่อปกป้องพระพุทธศาสนาโดยสุจริต ไม่ถือเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท
จำเลยนำแถบบันทึกเสียงที่ผู้ชายพูดกับผู้หญิงในลักษณะของการให้สัมภาษณ์เป็นใจความว่า ผู้เสียหายได้ลักลอบได้เสียกับพระภิกษุ ช. เจ้าอาวาสวัดจอมบึงซึ่งเป็นเจ้าคณะอำเภอ มาเปิดให้บุคคลอื่นฟังที่บ้าน อ.และส. ซึ่งมิใช่ที่สาธารณสถานเป็นทำนองปรึกษาหารือกันว่าควรจะดำเนินการอย่างใดเพื่อให้เกิดความบริสุทธิ์ต่อพระพุทธศาสนา และหาทางขจัดความมัวหมองในพระพุทธศาสนาให้สิ้นไป หากพระภิกษุ ช. กระทำผิดจริงก็ควรจะสึกออกไป หากไม่จริงก็เอาผิดกับผู้พูดเรื่องนี้และต่อมาได้มีการร้องเรียนต่อศึกษาธิการอำเภอจอมบึงเกี่ยวกับพฤติการณ์ของพระภิกษุ ช. และได้มีบันทึกเสนอต่อตามลำดับจนกระทั่งถึงเจ้าคณะภาคฝ่ายมหานิกายจังหวัดราชบุรีเพื่อสอบหาข้อเท็จจริงจึงถือได้ว่าจำเลยไม่ได้มีเจตนาใส่ความผู้เสียหายให้ถูกดูหมิ่นเกลียดชังหรือเสียหายแต่เป็นการกระทำในการแสดงข้อความโดยสุจริตด้วยความเป็นธรรม อันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 329(3) ทั้งนี้เพื่อขจัดข่าวลือในทางที่จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมหมดสิ้นไป จำเลยไม่มีความผิด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339-2340/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเปิดเผยข้อมูลเพื่อความบริสุทธิ์ของพระพุทธศาสนา ไม่ถือเป็นการใส่ความผู้อื่น
จำเลยนำแถบบันทึกเสียงที่ผู้ชายพูดกับผู้หญิงในลักษณะของการให้สัมภาษณ์เป็นใจความว่า ผู้เสียหายได้ ลักลอบได้เสียกับพระภิกษุ ช. เจ้าอาวาส วัดจอมบึง ซึ่ง เป็นเจ้าคณะอำเภอมาเปิดให้บุคคลอื่นฟังที่บ้าน อ. และ ส. ซึ่ง มิใช่ที่สาธารณสถานเป็นทำนองปรึกษาหารือกันว่าควรจะดำเนินการอย่างใดเพื่อให้เกิดความบริสุทธิ์ต่อ พระพุทธศาสนา และหาทางขจัดความมัวหมองในพระพุทธศาสนาให้สิ้นไป หากพระภิกษุ ช. กระทำผิดจริงก็ควรจะสึกออกไป หากไม่จริงก็เอาผิดกับผู้พูดเรื่องนี้ และต่อมาได้ มีการร้องเรียนต่อ ศึกษาธิการอำเภอ จอมบึง เกี่ยวกับพฤติการณ์ของพระภิกษุ ช. และได้ มีบันทึกเสนอต่อ ตามลำดับจนกระทั่งถึง เจ้าคณะภาคฝ่ายมหานิกายจังหวัด ราชบุรี เพื่อสอบหาข้อเท็จจริง จึงถือได้ว่าจำเลยไม่ได้มีเจตนาใส่ความผู้เสียหายให้ถูกดูหมิ่น เกลียดชังหรือเสียหายแต่ เป็นการกระทำในการแสดงข้อความโดยสุจริตด้วย ความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 329(3)ทั้งนี้เพื่อขจัดข่าวลือในทางที่จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมหมดสิ้นไปจำเลยไม่มีความผิด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339-2340/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแสดงความคิดเห็นเพื่อขจัดข่าวลือเกี่ยวกับพระภิกษุโดยสุจริต ไม่เป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท
จำเลยนำแถบบันทึกเสียงที่ผู้ชายพูดกับผู้หญิงในลักษณะของการให้สัมภาษณ์เป็นใจความว่าผู้เสียหายได้ลักลอบได้เสียกับพระภิกษุ ช. เจ้าอาวาสวัดจอมบึงซึ่งเป็นเจ้าคณะอำเภอ มาเปิดให้บุคคลอื่นฟังที่บ้าน อ.และส. ซึ่งมิใช่ที่สาธารณสถาน เป็นทำนองปรึกษาหารือกันว่าควรจะดำเนินการอย่างใดเพื่อให้เกิดความบริสุทธิ์ต่อพระพุทธศาสนา และหาทางขจัดความมัวหมองในพระพุทธศาสนาให้สิ้นไป หากพระภิกษุ ช. กระทำผิดจริงก็ควรจะสึกออกไป หากไม่จริงก็เอาผิดกับผู้พูดเรื่องนี้และต่อมา ได้มีการร้องเรียนต่อศึกษาธิการอำเภอจอมบึงเกี่ยวกับพฤติการณ์ของพระภิกษุ ช. และได้มีบันทึกเสนอต่อตามลำดับจนกระทั่งถึงเจ้าคณะภาคฝ่ายมหานิกาย จังหวัดราชบุรีเพื่อสอบหาข้อเท็จจริง จึงถือได้ว่าจำเลยไม่ได้มีเจตนาใส่ความผู้เสียหายให้ถูกดูหมิ่นเกลียดชังหรือเสียหายแต่เป็นการกระทำในการแสดงข้อความโดยสุจริตด้วยความเป็นธรรม อันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทำตามป.อ. มาตรา 329(3) ทั้งนี้เพื่อขจัดข่าวลือในทางที่จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมหมดสิ้นไป จำเลยไม่มีความผิด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดในหนี้ของห้างหุ้นส่วนจำกัด ความผิดพลาดเรื่องระยะเวลาการยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
หนี้ที่เจ้าหนี้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เป็นหนี้ของห้างฯ จำเลยที่ 1 มิใช่เป็นหนี้ของจำเลยที่ 2 เป็นส่วนตัว จำเลยที่ 2ซึ่ง เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดต้อง รับผิดร่วมกับห้างฯจำเลยที่ 1 ในหนี้ที่ห้างฯ จำเลยที่ 1 เป็นหนี้เท่านั้น เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างฯ จำเลยที่ 1 เด็ดขาด วันที่ 10 กรกฎาคม2528 เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยภายหลังวันที่ 10 กรกฎาคม 2528 ตาม พระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 100.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หุ้นส่วนจำกัดรับผิดชอบหนี้ของห้างหุ้นส่วน และสิทธิในการยื่นคำขอรับชำระหนี้หลังศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
หนี้ที่เจ้าหนี้ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากกองทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 นั้น เป็นหนี้ของห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1 มิใช่เป็นหนี้ของจำเลยที่ 2 เป็นส่วนตัว จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดต้องรับผิดร่วมกับห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1 ในหนี้ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1 เป็นหนี้เท่านั้นเมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1เด็ดขาด วันที่ 10 กรกฎาคม 2528 และพิทักษ์ทรัพย์จำเลยที่ 2เด็ดขาด เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2529 เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยภายหลังวันที่ 10 กรกฎาคม 2528 ตามพระราชบัญญัติ ล้มละลาย พุทธศักราช 2483 มาตรา 100 แม้จำเลยที่ 2 จะมีข้อตกลงกับเจ้าหนี้ดังกล่าวยอมรับผิดร่วมกับห้างหุ้นส่วนจำกัด จำเลยที่ 1 ก็ตาม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความรับผิดของหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดในหนี้ของห้างหุ้นส่วนที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์สิทธิเรียกร้องหนี้ดอกเบี้ยหลังศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์
หนี้ที่เจ้าหนี้ยื่นคำขอรับชำระหนี้เป็นหนี้ของห้างฯ จำเลยที่ 1 มิใช่เป็นหนี้ของจำเลยที่ 2 เป็นส่วนตัว จำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดต้องรับผิดร่วมกับห้างฯ จำเลยที่ 1 ในหนี้ที่ห้างฯ จำเลยที่ 1 เป็นหนี้เท่านั้น เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างฯ จำเลยที่ 1 เด็ดขาด วันที่ 10 กรกฎาคม 2528 เจ้าหนี้จึงไม่มีสิทธิยื่นคำขอรับชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยภายหลังวันที่ 10 กรกฎาคม 2528 ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 100

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2253/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หุ้นส่วนจำกัดความรับผิดในคดีล้มละลาย: สิทธิเรียกร้องดอกเบี้ยหลังศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
จำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 เมื่อเจ้าหนี้รายที่ 5 ยื่นคำขอรับชำระหนี้ของห้างฯ จำเลยที่ 1 จากกองทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 มิใช่หนี้ของจำเลยที่ 2 เป็นส่วนตัว จำเลยที่ 2 จึงต้องร่วมรับผิดในหนี้ที่ห้างฯ จำเลยที่ 1 เป็นหนี้เจ้าหนี้รายที่ 5 เท่านั้น ดังนั้น เจ้าหนี้รายที่ 5 จึงไม่มีสิทธิขอรับชำระหนี้ค่าดอกเบี้ยจากจำเลยที่ 2 ภายหลังวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดห้าง ฯ จำเลยที่ 1 แม้จำเลยที่ 2 และเจ้าหนี้รายที่ 5 จะมีข้อตกลงกันไว้ในสัญญาก็ตาม.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2142/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การใช้เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นในสินค้าตนเองโดยมีเจตนาทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นสินค้าของผู้อื่น เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272
จำเลยเอาเครื่องหมายในการประกอบการค้าของโจทก์ร่วมมาใช้กับกางเกงยีนที่จำเลยผลิต โดยไม่ได้ระบุชื่อจำเลยซึ่งเป็นผู้ผลิตไว้ด้วย แม้โจทก์ร่วมจะไม่ได้ผลิตกางเกงยีนออกจำหน่ายแต่ในการประกอบการค้าของโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้ใช้เครื่องหมายดังกล่าวเป็นชื่อห้างประทับเครื่องหมายที่สินค้าที่โจทก์ร่วมรับมาจำหน่าย และทำการโฆษณาเครื่องหมายทางหนังสือพิมพ์ตลอดมาเมื่อบุคคลทั่วไปเห็นเครื่องหมายดังกล่าวก็ต้องเข้าใจว่าเป็นสินค้าของโจทก์ร่วม จึงแสดงให้เห็นถึงเจตนาของจำเลยว่าเพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่ากางเกงยีนของจำเลยเป็นสินค้าของโจทก์ร่วมจำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2142/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การใช้เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นในสินค้าของตน เพื่อให้เข้าใจผิดว่าเป็นสินค้าของผู้อื่น เป็นความผิดตามกฎหมายอาญา
จำเลยเอาเครื่องหมายในการประกอบการค้าของโจทก์ร่วมมาใช้ กับกางเกงยีนที่จำเลยผลิต โดย ไม่ได้ระบุชื่อ จำเลยซึ่ง เป็นผู้ผลิตไว้ด้วย แม้โจทก์ร่วมจะไม่ได้ผลิตกางเกงยีนออกจำหน่ายแต่ ในการประกอบการค้าของโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้ ใช้ เครื่องหมายดังกล่าวเป็นชื่อ ห้าง ประทับเครื่องหมายที่สินค้าที่โจทก์ร่วมรับมาจำหน่าย และทำการโฆษณาเครื่องหมายทางหนังสือพิมพ์ตลอดมาเมื่อบุคคลทั่วไปเห็นเครื่องหมายดังกล่าวก็ต้อง เข้าใจว่าเป็นสินค้าของโจทก์ร่วม จึงแสดงให้เห็นถึง เจตนาของจำเลยว่าเพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่ากางเกงยีนของจำเลยเป็นสินค้าของโจทก์ร่วมจำเลยจึงมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272.
of 120