พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,197 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความและการรับสภาพหนี้หลังขาดอายุความ การรับสภาพหนี้ต้องเกิดขึ้นก่อนสิทธิเรียกร้องขาดอายุความ
แม้โจทก์เคยอ้างสัญญากู้ทั้งสองฉบับ ที่โจทก์นำมาฟ้องคดีนี้เป็นพยานในคดีที่จำเลยถูก ฟ้องฐาน เบิกความเท็จที่ศาลชั้นต้น และจำเลยไม่เคยโต้แย้งว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์ทั้งไม่เคยปฏิเสธว่าลายมือชื่อของจำเลยเป็นลายมือชื่อปลอม แต่ จำเลยกระทำการดังกล่าวหลังจากที่สิทธิเรียกร้องของโจทก์ขาดอายุความไปแล้ว จึงไม่เป็นการรับสภาพต่อ เจ้าหนี้ อันจะทำให้อายุความสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสะดุดหยุดลงจากการรับสภาพหนี้: การกระทำหลังอายุความขาดแล้วไม่ถือเป็นการรับสภาพ
แม้โจทก์เคยอ้างสัญญากู้ทั้งสองฉบับที่โจทก์นำมาฟ้องคดีนี้เป็นพยานในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานเบิกความเท็จที่ศาลชั้นต้น และจำเลยไม่เคยโต้แย้งว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์ทั้งไม่เคยปฏิเสธว่าลายมือชื่อของจำเลยเป็นลายมือชื่อปลอม แต่จำเลยกระทำการดังกล่าวหลังจากที่สิทธิเรียกร้องของโจทก์ขาดอายุความไปแล้ว จึงไม่เป็นการรับสภาพต่อเจ้าหนี้ อันจะทำให้อายุความสะดุดหยุดลงตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 172.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสะดุดหยุดหรือไม่ เมื่อจำเลยรับสภาพหนี้หลังขาดอายุความ
แม้โจทก์เคยอ้างสัญญากู้ทั้งสองฉบับ ที่โจทก์นำมาฟ้องคดีนี้เป็นพยานในคดีที่จำเลยถูก ฟ้องฐาน เบิกความเท็จที่ศาลชั้นต้น และจำเลยไม่เคยโต้แย้งว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์ทั้งไม่เคยปฏิเสธว่าลายมือชื่อของจำเลยเป็นลายมือชื่อปลอม แต่ จำเลยกระทำการดังกล่าวหลังจากที่สิทธิเรียกร้องของโจทก์ขาดอายุความไปแล้ว จึงไม่เป็นการรับสภาพต่อ เจ้าหนี้ อันจะทำให้อายุความสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๒.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 776/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสะดุดหยุดหรือไม่ เมื่อจำเลยยอมรับสัญญากู้หลังอายุความขาดแล้ว
แม้โจทก์เคยอ้างสัญญากู้ทั้งสองฉบับที่โจทก์นำมาฟ้องคดีนี้เป็นพยานในคดีที่จำเลยถูกฟ้องฐานเบิกความเท็จที่ศาลชั้นต้นและจำเลยไม่เคยโต้แย้งว่าไม่ได้กู้เงินโจทก์ ทั้งไม่เคยปฏิเสธว่าลายมือชื่อของจำเลยเป็นลายมือชื่อปลอม แต่จำเลยกระทำการดังกล่าวหลังจากที่สิทธิเรียกร้องของโจทก์ขาดอายุความไปแล้ว จึงไม่เป็นการรับสภาพต่อเจ้าหนี้ อันจะทำให้อายุความสะดุดหยุดลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 172
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกค่าหุ้นค้างชำระไม่จำกัดระยะเวลา หากยังไม่ได้รับชำระและบริษัทฯ ยังดำรงอยู่
การที่จะเรียกเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีกในแต่ละคราวนั้นเป็นดุลพินิจของกรรมการที่จะเรียกจากผู้ถือหุ้นเมื่อใด เป็นจำนวนเท่าใดก็ได้ตราบเท่าที่บริษัทยังคงดำรงอยู่ หาใช่ว่าจะต้องเรียกภายในกำหนด 10 ปี นับแต่วันจดทะเบียนตั้งกรรมการบริษัทไม่ แม้เมื่อเลิกบริษัท ผู้ชำระบัญชีจะเรียกให้ผู้ถือหุ้นส่งใช้เงินลงหุ้นอันเป็นส่วนที่ยังค้างชำระอยู่นั้นก็ได้ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1265ดังนั้น สิทธิเรียกร้องของบริษัทจำเลยในการเรียกเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีกจึงเกิดขึ้นในแต่ละคราวที่กรรมการส่งคำบอกกล่าวเรียกเงินค่าหุ้นนั้น และเมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์บริษัทจำเลยเด็ดขาดเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีอำนาจตาม พระราชบัญญัติ ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 22 และมาตรา 119 เรียกให้ผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยชำระเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีกทั้งหมดได้.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกค่าหุ้นค้างชำระของบริษัท และอำนาจเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในคดีล้มละลาย
การที่จะเรียกเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีกในแต่ละคราวนั้นเป็นดุลพินิจ ของกรรมการที่จะเรียกจากผู้ถือหุ้นเมื่อใด เป็นจำนวนเท่าใด ก็ได้ ตราบเท่าที่บริษัทยังคงดำรง อยู่ หาใช่ว่าจะต้อง เรียกภายในกำหนด ๑๐ ปี นับแต่วันจดทะเบียนตั้ง กรรมการบริษัทไม่แม้เมื่อเลิกบริษัท ผู้ชำระบัญชีจะเรียกให้ผู้ถือหุ้นส่งใช้ เงินลงหุ้นอันเป็นส่วนที่ยังค้างชำระอยู่นั้นก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๒๖๕ ดังนั้นสิทธิเรียกร้องของบริษัทจำเลยในการเรียกเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีก จึงเกิดขึ้นในแต่ละคราวที่กรรมการส่งคำบอกกล่าวเรียกเงินค่าหุ้นนั้นและเมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์บริษัทจำเลยเด็ดขาดเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีอำนาจตาม พระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๒๒ และ ๑๑๙ เรียกให้ผู้ร้องซึ่ง เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยชำระเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีกทั้งหมดได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกค่าหุ้นค้างชำระไม่ผูกติดกรอบเวลา 10 ปี แต่เกิดขึ้นเมื่อมีคำบอกกล่าวเรียกชำระจากกรรมการ
การที่จะเรียกเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีกในแต่ละคราวนั้นเป็นดุลพินิจของกรรมการที่จะเรียกจากผู้ถือหุ้นเมื่อใด เป็นจำนวนเท่าใด ก็ได้ตราบเท่าที่บริษัทยังคงดำรงอยู่ หาใช่ว่าจะต้องเรียกภายในกำหนด 10 ปี นับแต่วันจดทะเบียนตั้งกรรมการบริษัทไม่แม้เมื่อเลิกบริษัท ผู้ชำระบัญชีจะเรียกให้ผู้ถือหุ้นส่งใช้เงินลงหุ้นอันเป็นส่วนที่ยังค้างชำระอยู่นั้นก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1265 ดังนั้นสิทธิเรียกร้องของบริษัทจำเลยในการเรียกเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีก จึงเกิดขึ้นในแต่ละคราวที่กรรมการส่งคำบอกกล่าวเรียกเงินค่าหุ้นนั้น และเมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์บริษัทจำเลยเด็ดขาด เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีอำนาจตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 22 และ 119เรียกให้ผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยชำระเงินค่าหุ้นซึ่งยังจะต้องส่งอีกทั้งหมดได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 773/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกค่าหุ้นค้างชำระของบริษัทและการบังคับชำระหลังล้มละลาย
การที่จะเรียกเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีกในแต่ละคราวนั้นเป็นดุลพินิจ ของกรรมการที่จะเรียกจากผู้ถือหุ้นเมื่อใด เป็นจำนวนเท่าใด ก็ได้ ตราบเท่าที่บริษัทยังคงดำรง อยู่ หาใช่ว่าจะต้อง เรียกภายในกำหนด 10 ปี นับแต่วันจดทะเบียนตั้ง กรรมการบริษัทไม่แม้เมื่อเลิกบริษัท ผู้ชำระบัญชีจะเรียกให้ผู้ถือหุ้นส่งใช้ เงินลงหุ้นอันเป็นส่วนที่ยังค้างชำระอยู่นั้นก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1265 ดังนั้นสิทธิเรียกร้องของบริษัทจำเลยในการเรียกเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีก จึงเกิดขึ้นในแต่ละคราวที่กรรมการส่งคำบอกกล่าวเรียกเงินค่าหุ้นนั้นและเมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์บริษัทจำเลยเด็ดขาดเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงมีอำนาจตาม พระราชบัญญัติล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 22 และ 119 เรียกให้ผู้ร้องซึ่ง เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทจำเลยชำระเงินค่าหุ้นซึ่ง ยังจะต้อง ส่งอีกทั้งหมดได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 680/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เขตอำนาจศาลฟ้องบังคับจำนอง: พิจารณาจากที่ตั้งทรัพย์สินและสิทธิเรียกร้อง
การที่โจทก์ฟ้องบังคับจำนองแก่ที่ดินที่จำเลยที่ 2นำมาจำนองประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 นั้น จะต้องพิจารณาว่าโจทก์มีสิทธิบังคับจำนองได้หรือไม่ จำเลยที่ 1 เป็นหนี้โจทก์หรือไม่ และจำเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 1 หรือไม่ อันเป็นการพิจารณา ถึงสิทธิที่โจทก์จะฟ้องขอให้บังคับจำนอง คำฟ้องของโจทก์จึงเป็นคำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ ดังนี้ แม้จำเลยที่ 1 จะมีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดเชียงใหม่ก็ตาม แต่เมื่อที่ดินที่จำนองอยู่ที่กรุงเทพมหานคร โจทก์จึงฟ้องจำเลยทั้งสองต่อศาลแพ่งซึ่งเป็นศาลที่ทรัพย์ตั้งอยู่ในเขตได้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 4(1).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 680/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เขตอำนาจศาลบังคับจำนอง: ที่ดินเป็นที่ตั้ง
การที่โจทก์ฟ้องบังคับจำนองแก่ที่ดินที่จำเลยที่ ๒ นำมาจำนองประกันหนี้ของจำเลยที่ ๑ นั้น จะต้อง พิจารณาว่าโจทก์มีสิทธิบังคับจำนองได้ หรือไม่ จำเลยที่ ๑ เป็นหนี้โจทก์หรือไม่ และจำเลยที่ ๒ต้อง ร่วม รับผิดกับจำเลยที่ ๑ หรือไม่ อันเป็นการพิจารณาถึง สิทธิที่โจทก์จะฟ้องขอให้บังคับจำนอง คำฟ้องของโจทก์จึงเป็นคำฟ้องเกี่ยวด้วย อสังหาริมทรัพย์ ดังนี้ แม้จำเลยที่ ๑ จะมีภูมิลำเนาอยู่จังหวัด เชียงใหม่ ก็ตาม แต่ เมื่อที่ดินที่จำนองอยู่ที่ กรุงเทพมหานคร โจทก์จึงฟ้องจำเลยทั้งสองต่อ ศาลแพ่งซึ่ง เป็นศาลที่ทรัพย์ตั้ง อยู่ในเขตได้ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา ๔(๑).