พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,256 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3743/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาออกเช็ค - รถเสีย - สิทธิระงับการจ่ายเช็ค - เงินพอจ่าย - ไม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.เช็ค
จำเลยเช่าซื้อรถแทรกเตอร์จากโจทก์ร่วม โดยชำระค่าเช่าซื้อส่วนหนึ่งในวันทำสัญญา และออกเช็คล่วงหน้าเพื่อชำระค่าเช่าซื้อที่ค้างจำนวน 2 ฉบับ ตั้งแต่จำเลยรับรถแทรกเตอร์ไปจากโจทก์ร่วม รถเสียไม่สามารถใช้ทำงานได้ตลอดมาจำเลยได้ขอคืนรถแก่โจทก์ร่วมและขอรับเช็คทั้งสองฉบับที่สั่งจ่ายมอบให้โจทก์ร่วมคืนโจทก์ร่วมก็ไม่ยอมคืนให้ พฤติการณ์เช่นนี้มีเหตุสมควรที่จำเลยจะมีคำสั่งให้ธนาคารระงับการจ่ายเงินตามเช็คได้ การที่จำเลยมีคำสั่งห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คดังกล่าวจึงไม่มีเจตนาทุจริต ทั้งจำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีไว้กับธนาคารในวงเงิน 100,000 บาท แม้ในวันสั่งจ่ายเช็ค จำเลยจะเป็นหนี้ธนาคารเกินกว่าวงเงินดังกล่าว แต่ผู้จัดการธนาคารตามเช็คยืนยันว่า ถ้าจำเลยร้องขอมาล่วงหน้าธนาคารจะจ่ายเงินตามเช็คดังกล่าวให้ แสดงว่าจำเลยมีเงินพอจ่ายตามเช็คทั้งสองฉบับ การกระทำของจำเลยไม่เป็นการออกเช็คโดยมีเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3743/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาออกเช็ค - การระงับการจ่ายเช็ค - ความผิดตาม พ.ร.บ. เช็ค - พยานยืนยันความสามารถชำระหนี้
จำเลยเช่าซื้อรถแทรกเตอร์จากโจทก์ร่วม โดยชำระค่าเช่าซื้อส่วนหนึ่งในวันทำสัญญา และออกเช็คล่วงหน้าเพื่อชำระค่าเช่าซื้อที่ค้างจำนวน 2 ฉบับตั้งแต่จำเลยรับรถแทรกเตอร์ไปจากโจทก์ร่วม รถเสียไม่สามารถใช้ทำงานได้ตลอดมาจำเลยได้ขอคืนรถแก่โจทก์ร่วมและขอรับเช็คทั้งสองฉบับที่สั่งจ่ายมอบให้โจทก์ร่วมคืนโจทก์ร่วมก็ไม่ยอมคืนให้ พฤติการณ์เช่นนี้มีเหตุสมควรที่จำเลยจะมีคำสั่งให้ธนาคารระงับการจ่ายเงินตามเช็คได้ การที่จำเลยมีคำสั่งห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คดังกล่าวจึงไม่มีเจตนาทุจริต ทั้งจำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีไว้กับธนาคารในวงเงิน 100,000บาท แม้ในวันสั่งจ่ายเช็ค จำเลยจะเป็นหนี้ธนาคารเกินกว่าวงเงินดังกล่าว แต่ผู้จัดการธนาคารตามเช็คยืนยันว่า ถ้าจำเลยร้องขอมาล่วงหน้าธนาคารจะจ่ายเงินตามเช็คดังกล่าวให้ แสดงว่าจำเลยมีเงินพอจ่ายตามเช็คทั้งสองฉบับ การกระทำของจำเลยไม่เป็นการออกเช็คโดยมีเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3624/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วิ่งราวทรัพย์: การกระทำเข้าข่ายลักทรัพย์โดยฉกฉวย แม้จะมีการโต้แย้งเรื่องอำนาจการสอบสวนของพนักงาน
จำเลยขายสร้อยให้ผู้เสียหาย 4 เส้นในราคา 100 บาทเศษแต่จำเลยกลับหยิบเอาธนบัตรฉบับละ 500 บาทจำนวน 1 ฉบับจากในกระเป๋าสตางค์ของผู้เสียหายไปโดยพลการในทันทีที่ผู้เสียหายเปิดกระเป๋าสตางค์ ซึ่งผู้เสียหายยังมิทันได้หยิบธนบัตรดังกล่าวส่งให้จำเลย แล้วจำเลยก็หลบหนีไปเช่นนี้ การกระทำของจำเลยมิใช่เป็นการผิดสัญญาในทางแพ่งหรือเข้าใจผิดเพราะสื่อความหมายกันไม่รู้เรื่องแต่อย่างไร การกระทำของจำเลยเข้าลักษณะลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้าจำเลยจึงมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(6) บัญญัติว่า พนักงานสอบสวน หมายความถึง เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน มาตรา 18 วรรคสองก็บัญญัติให้ข้าราชการตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อยตำรวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตำรวจตรีขึ้นไปในจังหวัดพระนครและธนบุรีมีอำนาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดภายในเขตอำนาจของตน และประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่5 ตุลาคม 2515 ออกตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2508 ข้อ 8 กำหนดให้กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร เมื่อได้ความว่าความผิดเกิดบริเวณท่าช้างวังหลวงในกรุงเทพมหานครร้อยตำรวจโทส. ซึ่งรับราชการตำแหน่งรองสารวัตรแผนก 4 กองกำกับการ 8 กองปราบปรามจึงมีอำนาจสอบสวนคดีนี้ตามบทกฎหมายดังกล่าวแม้กรมตำรวจวางระเบียบไว้ว่า กองปราบปรามจะทำการสอบสวนความผิดอาญาได้ต่อเมื่อได้รับคำสั่งหรืออนุญาตจากอธิบดีกรมตำรวจหรือรองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจก็ตาม ก็เป็นเรื่องภายในของกรมตำรวจดังนั้นเมื่อร้อยตำรวจโท ส. ได้รับอนุญาตให้เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแล้วถึงแม้ว่าจะได้รับอนุญาตภายหลังจากร้อยตำรวจโท ส. สอบสวนคดีนี้เสร็จแล้วการสอบสวนที่ร้อยตำรวจโท ส. กระทำแต่ต้นย่อมชอบด้วยกฎหมาย พนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้อง.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2(6) บัญญัติว่า พนักงานสอบสวน หมายความถึง เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน มาตรา 18 วรรคสองก็บัญญัติให้ข้าราชการตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อยตำรวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตำรวจตรีขึ้นไปในจังหวัดพระนครและธนบุรีมีอำนาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดภายในเขตอำนาจของตน และประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่5 ตุลาคม 2515 ออกตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2508 ข้อ 8 กำหนดให้กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร เมื่อได้ความว่าความผิดเกิดบริเวณท่าช้างวังหลวงในกรุงเทพมหานครร้อยตำรวจโทส. ซึ่งรับราชการตำแหน่งรองสารวัตรแผนก 4 กองกำกับการ 8 กองปราบปรามจึงมีอำนาจสอบสวนคดีนี้ตามบทกฎหมายดังกล่าวแม้กรมตำรวจวางระเบียบไว้ว่า กองปราบปรามจะทำการสอบสวนความผิดอาญาได้ต่อเมื่อได้รับคำสั่งหรืออนุญาตจากอธิบดีกรมตำรวจหรือรองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจก็ตาม ก็เป็นเรื่องภายในของกรมตำรวจดังนั้นเมื่อร้อยตำรวจโท ส. ได้รับอนุญาตให้เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแล้วถึงแม้ว่าจะได้รับอนุญาตภายหลังจากร้อยตำรวจโท ส. สอบสวนคดีนี้เสร็จแล้วการสอบสวนที่ร้อยตำรวจโท ส. กระทำแต่ต้นย่อมชอบด้วยกฎหมาย พนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3624/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วิ่งราวทรัพย์: อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนกองปราบปราม แม้ได้รับอนุมัติภายหลังการสอบสวน ก็ยังชอบด้วยกฎหมาย
จำเลยขายสร้อยให้ผู้เสียหาย 4 เส้นในราคา 100 บาทเศษแต่จำเลยกลับหยิบเอาธนบัตรฉบับละ 500 บาทจำนวน 1 ฉบับจากในกระเป๋าสตางค์ของผู้เสียหายไปโดยพลการในทันทีที่ผู้เสียหายเปิดกระเป๋าสตางค์ ซึ่งผู้เสียหายยังมิทันได้หยิบธนบัตรดังกล่าวส่งให้จำเลย แล้วจำเลยก็หลบหนีไปเช่นนี้ การกระทำของจำเลยมิใช่เป็นการผิดสัญญาในทางแพ่งหรือเข้าใจผิดเพราะสื่อความหมายกันไม่รู้เรื่องแต่อย่างไร การกระทำของจำเลยเข้าลักษณะลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้าจำเลยจึงมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (6) บัญญัติว่า พนักงานสอบสวน หมายความถึง เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน มาตรา 18 วรรคสองก็บัญญัติให้ข้าราชการตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อยตำรวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตำรวจตรีขึ้นไปในจังหวัดพระนครและธนบุรีมีอำนาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดภายในเขตอำนาจของตน และประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2515 ออกตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2508 ข้อ 8 กำหนดให้กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร เมื่อได้ความว่าความผิดเกิดบริเวณท่าช้างวังหลวงในกรุงเทพมหานคร ร้อยตำรวจโท ส. ซึ่งรับราชการตำแหน่งรองสารวัตรแผนก 4 กองกำกับการ 8 กองปราบปรามจึงมีอำนาจสอบสวนคดีนี้ตามบทกฎหมายดังกล่าวแม้กรมตำรวจวางระเบียบไว้ว่า กองปราบปรามจะทำการสอบสวนความผิดอาญาได้ต่อเมื่อได้รับคำสั่งหรืออนุญาตจากอธิบดีกรมตำรวจหรือรองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจก็ตาม ก็เป็นเรื่องภายในของกรมตำรวจดังนั้นเมื่อร้อยตำรวจโท ส. ได้รับอนุญาตให้เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแล้วถึงแม้ว่าจะได้รับอนุญาตภายหลังจากร้อยตำรวจโท ส. สอบสวนคดีนี้เสร็จแล้วการสอบสวนที่ร้อยตำรวจโท ส. กระทำแต่ต้นย่อมชอบด้วยกฎหมาย พนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้อง.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (6) บัญญัติว่า พนักงานสอบสวน หมายความถึง เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน มาตรา 18 วรรคสองก็บัญญัติให้ข้าราชการตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อยตำรวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตำรวจตรีขึ้นไปในจังหวัดพระนครและธนบุรีมีอำนาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งได้เกิดภายในเขตอำนาจของตน และประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 5 ตุลาคม 2515 ออกตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2508 ข้อ 8 กำหนดให้กองปราบปรามมีเขตอำนาจการรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดคดีอาญาทั้งหลายทั่วราชอาณาจักร เมื่อได้ความว่าความผิดเกิดบริเวณท่าช้างวังหลวงในกรุงเทพมหานคร ร้อยตำรวจโท ส. ซึ่งรับราชการตำแหน่งรองสารวัตรแผนก 4 กองกำกับการ 8 กองปราบปรามจึงมีอำนาจสอบสวนคดีนี้ตามบทกฎหมายดังกล่าวแม้กรมตำรวจวางระเบียบไว้ว่า กองปราบปรามจะทำการสอบสวนความผิดอาญาได้ต่อเมื่อได้รับคำสั่งหรืออนุญาตจากอธิบดีกรมตำรวจหรือรองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจก็ตาม ก็เป็นเรื่องภายในของกรมตำรวจดังนั้นเมื่อร้อยตำรวจโท ส. ได้รับอนุญาตให้เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแล้วถึงแม้ว่าจะได้รับอนุญาตภายหลังจากร้อยตำรวจโท ส. สอบสวนคดีนี้เสร็จแล้วการสอบสวนที่ร้อยตำรวจโท ส. กระทำแต่ต้นย่อมชอบด้วยกฎหมาย พนักงานอัยการจึงมีอำนาจฟ้อง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3615/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบฉันทะขอเลื่อนคดี: ต้องทำตามหลักเกณฑ์ ป.วิ.พ. และการแถลงขอเลื่อนคดีด้วยวาจาต้องกระทำโดยตัวความหรือทนายความ
การมอบฉันทะและการขอเลื่อนคดี ป.วิ.อ. มิได้บัญญัติไว้โดยเฉพาะจึงต้องนำ ป.วิ.พ. มาใช้บังคับ คำขอเลื่อนคดีด้วยวาจานั้น ตัวความหรือทนายความจะต้องกระทำด้วยตนเอง มิฉะนั้นจะต้องทำคำขอเลื่อนคดีเป็นลายลักษณ์อักษรและมอบฉันทะให้บุคคลใด บุคคลหนึ่งนำมายื่นต่อศาล ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ไม่มีอำนาจแถลงด้วยวาจาขอเลื่อนคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3615/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการมอบฉันทะทนายความขอเลื่อนคดีและการตัดพยานโจทก์เมื่อไม่แจ้งเหตุขัดข้อง
การมอบฉันทะและการขอเลื่อนคดีในคดีอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้ จึงต้องนำประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับแทนตามนัยแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ทนายความอาจมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาทำการแทนได้ในกิจการที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพ่ง มาตรา 64 เท่านั้นสำหรับกิจการอื่นต้องพิเคราะห์เป็นเรื่อง ๆ ไปว่าเป็นกิจการที่สำคัญซึ่งโดยสภาพเป็นที่เห็นได้ว่าทนายความจะต้องกระทำด้วยตนเองหรือไม่
คำขอเลื่อนคดีด้วยวาจา จะต้องกระทำโดยตัวความหรือทนายความเท่านั้น หากตัวความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ จะต้องทำคำขอเลื่อนคดีเป็นลายลักษณ์อักษร และมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมายื่นต่อศาลผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ไม่มีอำนาจแถลงด้วยวาจาขอ เลื่อนคดีต่อศาล การที่ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีต่อศาลด้วยวาจา ถือไม่ได้ว่าเป็นการแจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ เมื่อโจทก์และทนายโจทก์ไม่ได้ขอเลื่อนคดีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ทั้งไม่มาศาลโดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ การที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์ที่เหลือ จึงชอบด้วยกระบวนพิจารณาแล้ว.
ทนายความอาจมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาทำการแทนได้ในกิจการที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพ่ง มาตรา 64 เท่านั้นสำหรับกิจการอื่นต้องพิเคราะห์เป็นเรื่อง ๆ ไปว่าเป็นกิจการที่สำคัญซึ่งโดยสภาพเป็นที่เห็นได้ว่าทนายความจะต้องกระทำด้วยตนเองหรือไม่
คำขอเลื่อนคดีด้วยวาจา จะต้องกระทำโดยตัวความหรือทนายความเท่านั้น หากตัวความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ จะต้องทำคำขอเลื่อนคดีเป็นลายลักษณ์อักษร และมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมายื่นต่อศาลผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ไม่มีอำนาจแถลงด้วยวาจาขอ เลื่อนคดีต่อศาล การที่ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีต่อศาลด้วยวาจา ถือไม่ได้ว่าเป็นการแจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ เมื่อโจทก์และทนายโจทก์ไม่ได้ขอเลื่อนคดีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ทั้งไม่มาศาลโดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ การที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์ที่เหลือ จึงชอบด้วยกระบวนพิจารณาแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3615/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบฉันทะทนายขอเลื่อนคดี การแจ้งเหตุขัดข้อง และผลของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การมอบฉันทะและการขอเลื่อนคดีในคดีอาญาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติไว้ จึงต้องนำประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับแทนตามนัยแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15
ทนายความอาจมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาทำการแทนได้ในกิจการที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 64เท่านั้นสำหรับกิจการอื่นต้องพิเคราะห์เป็นเรื่อง ๆ ไปว่าเป็นกิจการที่สำคัญซึ่งโดยสภาพเป็นที่เห็นได้ว่าทนายความจะต้องกระทำด้วยตนเองหรือไม่
คำขอเลื่อนคดีด้วยวาจา จะต้องกระทำโดยตัวความหรือทนายความเท่านั้น หากตัวความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ จะต้องทำคำขอเลื่อนคดีเป็นลายลักษณ์อักษร และมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมายื่นต่อศาลผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ไม่มีอำนาจแถลงด้วยวาจาขอเลื่อนคดีต่อศาล การที่ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีต่อศาลด้วยวาจา ถือไม่ได้ว่าเป็นการแจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ เมื่อโจทก์และทนายโจทก์ไม่ได้ขอเลื่อนคดีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ทั้งไม่มาศาลโดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ การที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์ที่เหลือ จึงชอบด้วยกระบวนพิจารณาแล้ว.
ทนายความอาจมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาทำการแทนได้ในกิจการที่ระบุไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 64เท่านั้นสำหรับกิจการอื่นต้องพิเคราะห์เป็นเรื่อง ๆ ไปว่าเป็นกิจการที่สำคัญซึ่งโดยสภาพเป็นที่เห็นได้ว่าทนายความจะต้องกระทำด้วยตนเองหรือไม่
คำขอเลื่อนคดีด้วยวาจา จะต้องกระทำโดยตัวความหรือทนายความเท่านั้น หากตัวความหรือทนายความไม่อาจมาศาลได้ จะต้องทำคำขอเลื่อนคดีเป็นลายลักษณ์อักษร และมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมายื่นต่อศาลผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ไม่มีอำนาจแถลงด้วยวาจาขอเลื่อนคดีต่อศาล การที่ผู้รับมอบฉันทะจากทนายโจทก์ขอเลื่อนคดีต่อศาลด้วยวาจา ถือไม่ได้ว่าเป็นการแจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ เมื่อโจทก์และทนายโจทก์ไม่ได้ขอเลื่อนคดีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ทั้งไม่มาศาลโดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องให้ศาลทราบ การที่ศาลมีคำสั่งตัดพยานโจทก์ที่เหลือ จึงชอบด้วยกระบวนพิจารณาแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3466/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบข้อตกลงนอกเหนือจากสัญญาซื้อขาย การปฏิเสธการชำระหนี้เมื่ออีกฝ่ายผิดสัญญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 บัญญัติห้ามเฉพาะการนำพยานบุคคลเข้าสืบแทนเอกสารเท่านั้น จำเลยซื้อที่ดินรายพิพาทจากโจทก์ โดยจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลหนี้ซื้อขายที่ดินพิพาทกับโจทก์ แบ่งชำระเงินเป็น 3 งวด แต่จำเลยไม่ชำระราคาที่ดินตามข้อตกลงบุริมสิทธิในงวดสุดท้าย โดยนำสืบถึงสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินรายพิพาท และสัญญาระหว่างโจทก์กับ ก. ว่าโจทก์ตกลงรับจัดการให้ ก. จดทะเบียนภาระจำยอมถนนผ่านที่ดินของ ก. ให้ใช้ถนนนั้นจากที่ดินพิพาทออกสู่ถนนสาธารณะ ซึ่งโจทก์ต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวเสียก่อน จึงเป็นการนำสืบถึงข้อตกลงอีกส่วนหนึ่งนอกเหนือจากการจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ และมิใช่การนำสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารตาม มาตรา 94 (ข).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3466/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบข้อตกลงนอกสัญญาซื้อขายที่ดินที่ไม่ขัดต่อหลักมาตรา 94 ว.พ.พ. และผลต่อการปฏิบัติตามสัญญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 บัญญัติห้ามเฉพาะการนำพยานบุคคลเข้าสืบแทนเอกสารเท่านั้น จำเลยซื้อที่ดินรายพิพาทจากโจทก์ โดยจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลหนี้ซื้อขายที่ดินพิพาทกับโจทก์ แบ่งชำระเงินเป็น 3 งวด แต่จำเลยไม่ชำระราคาที่ดินตามข้อตกลงบุริมสิทธิในงวดสุดท้าย โดยนำสืบถึงสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินรายพิพาท และสัญญาระหว่างโจทก์กับ ก. ว่าโจทก์ตกลงรับจัดการให้ ก. จดทะเบียนภาระจำยอมถนนผ่านที่ดินของก. ให้ใช้ถนนนั้นจากที่ดินพิพาทออกสู่ถนนสาธารณะ ซึ่งโจทก์ต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าวเสียก่อน จึงเป็นการนำสืบถึงข้อตกลงอีกส่วนหนึ่งนอกเหนือจากการจดทะเบียนบุริมสิทธิในมูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ และมิใช่การนำสืบพยานบุคคลเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารตาม มาตรา 94(ข).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3432/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาค้ำประกัน-สิทธิในบัญชีเงินฝาก-การอายัดทรัพย์-ข้อจำกัดในการฎีกา
การที่สัญญาค้ำประกันระหว่างผู้ร้องกับจำเลยมีความข้อ 6ระบุว่าเมื่อลูกหนี้ผู้กู้ผิดสัญญากับผู้ร้อง จำเลยผู้ค้ำประกันยินยอมให้ผู้ร้องหักเงินจากบัญชีเงินฝากประจำที่จำเลยมีอยู่กับผู้ร้องเพื่อชำระหนี้ได้ ข้อ 7 ระบุให้จำเลยถอนเงินคืนไปได้ต่อเมื่อจำนวนหนี้ที่ผู้กู้เป็นหนี้ผู้ร้องลดลงเหลือไม่เกินราคาหลักทรัพย์ที่ผู้ร้องประเมินเป็นหลักประกัน และข้อ 8 ระบุให้ผู้ร้องมีสิทธิเพียงยึดถือสมุดคู่ฝากเงินที่จำเลยฝากไว้นั้นเป็นประกันตลอดไปจนกว่าผู้ร้องจะได้รับชำระหนี้จากผู้กู้ครบถ้วน และจำเลยยินยอมให้ผู้ร้องหักเงินจากบัญชีเงินฝากดังกล่าวชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการที่จำเลยเป็นลูกหนี้ผู้ร้องรวมตลอดถึงลูกหนี้ซึ่งจำเลยเป็นผู้ค้ำประกันได้ทันทีนั้น ถือไม่ได้ว่าจำเลยได้โอนสิทธิเรียกร้องเงินในบัญชีเงินฝากดังกล่าวให้ผู้ร้องแล้ว เพราะจำเลยยังคงมีสิทธิถอนเงินคืนไปได้เมื่อมีกรณีตามสัญญาข้อ 7 และการที่ผู้ร้องจะหักเงินจากบัญชีเงินฝากดังกล่าวได้นั้น จะต้องเป็นกรณีที่ลูกหนี้ผู้กู้ผิดสัญญากับผู้ร้องตามสัญญาข้อ 6 หรือจำเลยหรือลูกหนี้ผู้กู้ก่อความเสียหายแก่ผู้ร้องตามสัญญาข้อ 8 เท่านั้น โจทก์จึงมีสิทธิอายัดเงินในบัญชีเงินฝากดังกล่าวเพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาของตนได้
ส่วนที่ผู้ร้องฎีกาว่า ศาลแพ่งได้พิพากษาให้ลูกหนี้ผู้กู้ซึ่งผิดนัดไม่ชำระหนี้รวม 3 รายกับจำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันร่วมกันชำระหนี้แก่ผู้ร้องแล้วและการขออายัดของเจ้าพนักงานบังคับคดีมีขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของลูกหนี้ผู้กู้และจำเลยแล้วนั้น ก็เป็นข้อเท็จจริงที่เพิ่งอ้างขึ้นใหม่ในชั้นฎีกา จึงต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.
ส่วนที่ผู้ร้องฎีกาว่า ศาลแพ่งได้พิพากษาให้ลูกหนี้ผู้กู้ซึ่งผิดนัดไม่ชำระหนี้รวม 3 รายกับจำเลยในฐานะผู้ค้ำประกันร่วมกันชำระหนี้แก่ผู้ร้องแล้วและการขออายัดของเจ้าพนักงานบังคับคดีมีขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของลูกหนี้ผู้กู้และจำเลยแล้วนั้น ก็เป็นข้อเท็จจริงที่เพิ่งอ้างขึ้นใหม่ในชั้นฎีกา จึงต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249.