พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,256 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5607/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลอุทธรณ์แยกฉบับ: จำเลยแต่ละคนต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ของตน
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระหนี้แก่โจทกจำเลยทั้งสองยื่นอุทธรณ์คนละฉบับคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้นในทุนทรัพย์เดียวกันเมื่ออุทธรณ์ของจำเลยทั้งสองมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ของแต่ละคน จำเลยแต่ละคนจึงต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ในฟ้องอุทธรณ์ของตนจะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ได้เสียค่าขึ้นศาลในทุนทรัพย์ดังกล่าวเต็มจำนวนแล้ว จำเลยที่ 2 จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอีกนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5607/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลอุทธรณ์แยกฉบับ: จำเลยแต่ละคนต้องรับผิดชอบค่าขึ้นศาลของตนเอง
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระหนี้แก่โจทก์ จำเลยทั้งสองยื่นอุทธรณ์คนละฉบับคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้นในทุนทรัพย์เดียวกัน เมื่ออุทธรณ์ของจำเลยทั้งสองมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ของแต่ละคน จำเลยแต่ละคนจึงต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ในฟ้องอุทธรณ์ของตน จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ได้เสียค่าขึ้นศาลในทุนทรัพย์ดังกล่าวเต็มจำนวนแล้ว จำเลยที่ 2จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอีกนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5607/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขึ้นศาลอุทธรณ์แยกฉบับ: จำเลยแต่ละคนต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ของตน แม้ฟ้องร่วมกัน
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยทั้งสองร่วมกันชำระหนี้แก่โจทก์ จำเลยทั้งสองยื่นอุทธรณ์คนละฉบับคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้นในทุนทรัพย์เดียวกัน เมื่ออุทธรณ์ของจำเลยทั้งสองมีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ของแต่ละคน จำเลยแต่ละคนจึงต้องเสียค่าขึ้นศาลตามทุนทรัพย์ในฟ้องอุทธรณ์ของตน จะอ้างว่าจำเลยที่ 1 ได้เสียค่าขึ้นศาลในทุนทรัพย์ดังกล่าวเต็มจำนวนแล้ว จำเลยที่ 2จึงไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาลอีกนั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4626-4629/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกที่ถูกต้องตามกฎหมายและการเลื่อนคดีเมื่อจำเลยขาดทนาย
เจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทั้งสี่ที่บ้านจำเลยที่ 3 ขณะที่จำเลยทั้งสี่กำลังช่วยกันปลูกบ้านจำเลยที่ 3 อยู่ เมื่อจำเลยทั้งสี่ไม่ยอมรับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง เจ้าพนักงานศาลจึงได้ส่งโดยวิธีวางหมายต่อหน้าเจ้าพนักงานตำรวจ ณ ที่นั้น โดยจำเลยทั้งสี่มีบ้านอยู่ติดกัน แม้เป็นคนละแห่งกับภูมิลำเนาของจำเลยที่ปรากฏในคำฟ้อง ก็เป็นกรณีที่จำเลยทั้งสี่มีภูมิลำเนาหลายแห่ง ถือได้ว่าการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยวิธีการวางหมายถูกต้องตามกฎหมาย จำเลยทั้งสี่มิได้ยื่นคำให้การภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดจึงเป็นการจงใจขาดนัดยื่นคำให้การ
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์และนัดสอบถามเรื่องทนายจำเลยขอถอนตน ครั้นถึงวันนัดศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์ไปจนเสร็จโดยมิได้สอบถามจำเลยถึงการถอนตนของทนายความ จำเลยจึงยังไม่ได้หาทนายใหม่ เมื่อจำเลยไม่มีทนาย การขอเลื่อนคดีของจำเลยจึงมีเหตุผลอันสมควร ชอบที่จะอนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีได้เมื่อศาลชั้นต้นไม่อนุญาตเลื่อนคดี ศาลฎีกาย่อมให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้สืบพยานโจทก์ใหม่โดยให้โอกาสจำเลยถามค้านพยานโจทก์ แล้วจึงสืบจำเลยทั้งสี่ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรคสอง.
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์และนัดสอบถามเรื่องทนายจำเลยขอถอนตน ครั้นถึงวันนัดศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์ไปจนเสร็จโดยมิได้สอบถามจำเลยถึงการถอนตนของทนายความ จำเลยจึงยังไม่ได้หาทนายใหม่ เมื่อจำเลยไม่มีทนาย การขอเลื่อนคดีของจำเลยจึงมีเหตุผลอันสมควร ชอบที่จะอนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีได้เมื่อศาลชั้นต้นไม่อนุญาตเลื่อนคดี ศาลฎีกาย่อมให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้สืบพยานโจทก์ใหม่โดยให้โอกาสจำเลยถามค้านพยานโจทก์ แล้วจึงสืบจำเลยทั้งสี่ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรคสอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4626-4629/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกที่ชอบด้วยกฎหมายและการเลื่อนคดีเพื่อหาทนายใหม่
เจ้าพนักงานศาลไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยทั้งสี่ที่บ้านจำเลยที่ 3 ขณะที่จำเลยทั้งสี่กำลังช่วยกันปลูกบ้านจำเลยที่ 3 อยู่ เมื่อจำเลยทั้งสี่ไม่ยอมรับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง เจ้าพนักงานศาลจึงได้ส่งโดยวิธีวางหมายต่อหน้าเจ้าพนักงานตำรวจ ณ ที่นั้น โดยจำเลยทั้งสี่มีบ้านอยู่ติดกัน แม้เป็นคนละแห่งกับภูมิลำเนาของจำเลยที่ปรากฏในคำฟ้อง ก็เป็นกรณีที่จำเลยทั้งสี่มีภูมิลำเนาหลายแห่ง ถือได้ว่าการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยวิธีการวางหมายถูกต้องตามกฎหมาย จำเลยทั้งสี่มิได้ยื่นคำให้การภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดจึงเป็นการจงใจขาดนัดยื่นคำให้การ
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์และนัดสอบถามเรื่องทนายจำเลยขอถอนตน ครั้นถึงวันนัดศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์ไปจนเสร็จโดยมิได้สอบถามจำเลยถึงการถอนตนของทนายความ จำเลยจึงยังไม่ได้หาทนายใหม่ เมื่อจำเลยไม่มีทนาย การขอเลื่อนคดีของจำเลยจึงมีเหตุผลอันสมควร ชอบที่จะอนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีได้เมื่อศาลชั้นต้นไม่อนุญาตเลื่อนคดี ศาลฎีกาย่อมให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้สืบพยานโจทก์ใหม่โดยให้โอกาสจำเลยถามค้านพยานโจทก์ แล้วจึงสืบจำเลยทั้งสี่ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรคสอง
ศาลชั้นต้นนัดสืบพยานโจทก์และนัดสอบถามเรื่องทนายจำเลยขอถอนตน ครั้นถึงวันนัดศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์ไปจนเสร็จโดยมิได้สอบถามจำเลยถึงการถอนตนของทนายความ จำเลยจึงยังไม่ได้หาทนายใหม่ เมื่อจำเลยไม่มีทนาย การขอเลื่อนคดีของจำเลยจึงมีเหตุผลอันสมควร ชอบที่จะอนุญาตให้จำเลยเลื่อนคดีได้เมื่อศาลชั้นต้นไม่อนุญาตเลื่อนคดี ศาลฎีกาย่อมให้ยกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้สืบพยานโจทก์ใหม่โดยให้โอกาสจำเลยถามค้านพยานโจทก์ แล้วจึงสืบจำเลยทั้งสี่ต่อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 วรรคสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4240/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบพยาน การนำสืบ การรับรองเอกสาร และค่าฤชาธรรมเนียมในคดีมรดก
โจทก์ขอเลื่อนคดีโดยแถลงยอมผูกมัดตนเองว่าหากนัดหน้าไม่ได้พยานมาก็จะไม่ติดใจสืบ ดังนี้ เมื่อถึงวันนัดโจทก์ยังไม่ได้ตัวพยานมาศาลอีกก็ต้องถือว่าโจทก์ไม่ติดใจสืบพยานปากนี้ตามที่เคยแถลงไว้ ไม่ว่าพยานจะได้รับหมายเรียกไว้แล้วหรือไม่ก็ตาม
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์มีหน้าที่นำสืบก่อน และโจทก์ได้โต้แย้งคำสั่งนั้นไว้โดยชอบแล้ว แม้การกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวจะไม่ชอบไม่ถูกต้องจริงหรือไม่ก็ตาม หากคู่ความได้สืบพยานจนสิ้นกระแสความแล้ว และการกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวก็ไม่ทำให้เหตุผลแห่งการวินิจฉัยคดีเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่นได้ กรณีจึงไม่สมควรที่จะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสืบพยานใหม่
คดีมีประเด็นข้อพิพาทกันมาแต่ต้น โดยโจทก์สามารถนำพยานมาเบิกความต่อศาลได้ แต่ก็ไม่ได้นำมา การที่โจทก์ขอนำพยานดังกล่าวมาเบิกความหลังจากสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว ย่อมเป็นการเพิ่มเติมคดีของโจทก์ที่บกพร่องอยู่และพ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานเข้าสืบตามกฎหมายแล้ว จึงไม่สมควรอนุญาตให้โจทก์สืบพยาน
แม้ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมและคำร้องขอจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมจะเป็นเอกสารมหาชน แต่คู่ความฝ่ายที่ถูกอ้างเอกสารนั้นมายันก็นำพยานหลักฐานอื่นมาสืบหักล้างได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 127
การได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 157 นั้น เป็นคนละเรื่องกับความรับผิดของคู่ความฝ่ายแพ้คดีที่จะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา161 ดังนั้น แม้โจทก์จะได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถาแล้ว แต่ถ้าแพ้คดี ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์มีหน้าที่นำสืบก่อน และโจทก์ได้โต้แย้งคำสั่งนั้นไว้โดยชอบแล้ว แม้การกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวจะไม่ชอบไม่ถูกต้องจริงหรือไม่ก็ตาม หากคู่ความได้สืบพยานจนสิ้นกระแสความแล้ว และการกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวก็ไม่ทำให้เหตุผลแห่งการวินิจฉัยคดีเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่นได้ กรณีจึงไม่สมควรที่จะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสืบพยานใหม่
คดีมีประเด็นข้อพิพาทกันมาแต่ต้น โดยโจทก์สามารถนำพยานมาเบิกความต่อศาลได้ แต่ก็ไม่ได้นำมา การที่โจทก์ขอนำพยานดังกล่าวมาเบิกความหลังจากสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว ย่อมเป็นการเพิ่มเติมคดีของโจทก์ที่บกพร่องอยู่และพ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานเข้าสืบตามกฎหมายแล้ว จึงไม่สมควรอนุญาตให้โจทก์สืบพยาน
แม้ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมและคำร้องขอจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมจะเป็นเอกสารมหาชน แต่คู่ความฝ่ายที่ถูกอ้างเอกสารนั้นมายันก็นำพยานหลักฐานอื่นมาสืบหักล้างได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 127
การได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 157 นั้น เป็นคนละเรื่องกับความรับผิดของคู่ความฝ่ายแพ้คดีที่จะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา161 ดังนั้น แม้โจทก์จะได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถาแล้ว แต่ถ้าแพ้คดี ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4240/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสืบพยาน การเปลี่ยนแปลงหน้าที่นำสืบ เอกสารมหาชน และค่าฤชาธรรมเนียมในคดีมรดก
โจทก์ขอเลื่อนคดีโดยแถลงยอมผูกมัดตนเองว่าหากนัดหน้าไม่ได้พยานมาก็จะไม่ติดใจสืบ ดังนี้ เมื่อถึงวันนัดโจทก์ยังไม่ได้ตัวพยานมาศาลอีกก็ต้องถือว่าโจทก์ไม่ติดใจสืบพยานปากนี้ตามที่เคยแถลงไว้ ไม่ว่าพยานจะได้รับหมายเรียกไว้แล้วหรือไม่ก็ตาม
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์มีหน้าที่นำสืบก่อน และโจทก์ได้โต้แย้งคำสั่งนั้นไว้โดยชอบแล้ว แม้การกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวจะไม่ชอบไม่ถูกต้องจริงหรือไม่ก็ตาม หากคู่ความได้สืบพยานจนสิ้นกระแสความแล้ว และการกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวก็ไม่ทำให้เหตุผลแห่งการวินิจฉัยคดีเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่นได้ กรณีจึงไม่สมควรที่จะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสืบพยานใหม่
คดีมีประเด็นข้อพิพาทกันมาแต่ต้น โดยโจทก์สามารถนำพยานมาเบิกความต่อศาลได้ แต่ก็ไม่ได้นำมา การที่โจทก์ขอนำพยานดังกล่าวมาเบิกความหลังจากสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว ย่อมเป็นการเพิ่มเติมคดีของโจทก์ที่บกพร่องอยู่และพ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานเข้าสืบตามกฎหมายแล้ว จึงไม่สมควรอนุญาตให้โจทก์สืบพยาน
แม้ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมและคำร้องขอจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมจะเป็นเอกสารมหาชน แต่คู่ความฝ่ายที่ถูกอ้างเอกสารนั้นมายันก็นำพยานหลักฐานอื่นมาสืบหักล้างได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 127
การได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 157 นั้น เป็นคนละเรื่องกับความรับผิดของคู่ความฝ่ายแพ้คดีที่จะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา161 ดังนั้น แม้โจทก์จะได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถาแล้ว แต่ถ้าแพ้คดี ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้.
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์มีหน้าที่นำสืบก่อน และโจทก์ได้โต้แย้งคำสั่งนั้นไว้โดยชอบแล้ว แม้การกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวจะไม่ชอบไม่ถูกต้องจริงหรือไม่ก็ตาม หากคู่ความได้สืบพยานจนสิ้นกระแสความแล้ว และการกำหนดหน้าที่นำสืบดังกล่าวก็ไม่ทำให้เหตุผลแห่งการวินิจฉัยคดีเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่นได้ กรณีจึงไม่สมควรที่จะย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้นสืบพยานใหม่
คดีมีประเด็นข้อพิพาทกันมาแต่ต้น โดยโจทก์สามารถนำพยานมาเบิกความต่อศาลได้ แต่ก็ไม่ได้นำมา การที่โจทก์ขอนำพยานดังกล่าวมาเบิกความหลังจากสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว ย่อมเป็นการเพิ่มเติมคดีของโจทก์ที่บกพร่องอยู่และพ้นเวลาที่โจทก์จะนำพยานเข้าสืบตามกฎหมายแล้ว จึงไม่สมควรอนุญาตให้โจทก์สืบพยาน
แม้ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมและคำร้องขอจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมจะเป็นเอกสารมหาชน แต่คู่ความฝ่ายที่ถูกอ้างเอกสารนั้นมายันก็นำพยานหลักฐานอื่นมาสืบหักล้างได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 127
การได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาล ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 157 นั้น เป็นคนละเรื่องกับความรับผิดของคู่ความฝ่ายแพ้คดีที่จะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียมแทนคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา161 ดังนั้น แม้โจทก์จะได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถาแล้ว แต่ถ้าแพ้คดี ศาลก็ชอบที่จะพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4017/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาในคดีมรดก: สิทธิรอคอยจนคดีถึงที่สุด
การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้ตามที่โจทก์ขอแต่สั่งให้งดการบังคับคดีไว้ก่อนจนกว่าจะสิ้นระยะเวลาอุทธรณ์และจำเลยมิได้ขอให้ทุเลาการบังคับคดีนั้น แม้จำเลยทั้งสองมิได้อุทธรณ์คำพิพากษาของศาลชั้นต้นอันมีผลให้คำสั่งที่ให้งดการบังคับคดีดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่เมื่อโจทก์ได้ขอหมายบังคับคดีภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 260 (2) คำสั่งศาลชั้นต้นที่ให้ความคุ้มครองชั่วคราวแก่โจทก์ก่อนพิพากษาตามมาตรา 254 (2) โดยการห้ามโอน ขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาทนั้นย่อมมีผลอยู่ต่อไป
การบังคับคดีนั้นเป็นอำนาจของคู่ความที่ชนะคดีจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมาย เมื่อคดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์และโจทก์ไม่อาจทราบได้ว่าจะได้รับส่วนแบ่งในทรัพย์พิพาทเป็นจำนวนเงินเท่าใด โจทก์ย่อมมีสิทธิรอให้คดีถึงที่สุดเสียก่อนจึงดำเนินการบังคับคดีต่อไป ทั้งการที่โจทก์ขอให้ห้ามโอนขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาททั้งหมดก็เพราะโจทก์อ้างว่ามีสิทธิได้รับมรดก 1 ใน 3 ส่วนทุกรายการจึงไม่เป็นการห้ามเกินความจำเป็น
คำร้องของจำเลยที่ขอให้ศาลสั่งจำหน่ายและแบ่งทรัพย์มรดกพิพาทซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามโอน ขาย ยักย้าย ดังกล่าวอันพออนุโลมได้ว่าเป็นการร้องขอเพื่อให้ศาลมีคำสั่งกำหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264 นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลย่อมสั่งยกคำร้องโดยไม่จำต้องไต่สวน.
การบังคับคดีนั้นเป็นอำนาจของคู่ความที่ชนะคดีจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมาย เมื่อคดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์และโจทก์ไม่อาจทราบได้ว่าจะได้รับส่วนแบ่งในทรัพย์พิพาทเป็นจำนวนเงินเท่าใด โจทก์ย่อมมีสิทธิรอให้คดีถึงที่สุดเสียก่อนจึงดำเนินการบังคับคดีต่อไป ทั้งการที่โจทก์ขอให้ห้ามโอนขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาททั้งหมดก็เพราะโจทก์อ้างว่ามีสิทธิได้รับมรดก 1 ใน 3 ส่วนทุกรายการจึงไม่เป็นการห้ามเกินความจำเป็น
คำร้องของจำเลยที่ขอให้ศาลสั่งจำหน่ายและแบ่งทรัพย์มรดกพิพาทซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามโอน ขาย ยักย้าย ดังกล่าวอันพออนุโลมได้ว่าเป็นการร้องขอเพื่อให้ศาลมีคำสั่งกำหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264 นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลย่อมสั่งยกคำร้องโดยไม่จำต้องไต่สวน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4017/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการคุ้มครองชั่วคราวหลังศาลพิพากษาคดีมรดก การยึดทรัพย์เพื่อรอการบังคับคดีไม่เกินความจำเป็น
ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีตามคำขอของโจทก์ แต่สั่งให้งดการบังคับคดีไว้ก่อนจนกว่าจะสิ้นระยะเวลาอุทธรณ์ เมื่อจำเลยมิได้อุทธรณ์คำพิพากษาของศาลชั้นต้น คำสั่งที่ให้งดการบังคับคดีย่อมสิ้นสุดลง แต่โจทก์ได้ขอหมายบังคับคดีภายในกำหนดสิบห้าวันตามป.วิ.พ. มาตรา 260(2) แล้ว คำสั่ง ศาลชั้นต้น ที่ให้ความคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาตามมาตรา 254(2) ย่อมมีผลอยู่ต่อไป การบังคับคดีเป็นอำนาจของคู่ความที่ชนะคดีจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมาย เมื่อคดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์ และการที่โจทก์ขอให้ห้ามโอนขายยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาททั้งหมดก็เพราะโจทก์อ้างว่ามีสิทธิได้รับมรดก 1 ใน 3 ส่วนทุกรายการ จึงไม่เป็นการห้ามเกินความจำเป็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4017/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบังคับคดีและการคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาในคดีมรดก: ศาลยืนตามคำสั่งเดิม
การที่ศาลชั้นต้นออกหมายบังคับคดีให้ตามที่โจทก์ขอแต่สั่งให้งดการบังคับคดีไว้ก่อนจนกว่าจะสิ้นระยะเวลาอุทธรณ์และจำเลยมิได้ขอให้ทุเลาการบังคับคดีนั้น แม้จำเลยทั้งสองมิได้อุทธรณ์คำพิพากษาของศาลชั้นต้นอันมีผลให้คำสั่งที่ให้งดการบังคับคดีดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่เมื่อโจทก์ได้ขอหมายบังคับคดีภายในกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 260(2) คำสั่งศาลชั้นต้นที่ให้ความคุ้มครองชั่วคราวแก่โจทก์ก่อนพิพากษาตามมาตรา 254(2) โดยการห้ามโอน ขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาทนั้นย่อมมีผลอยู่ต่อไป
การบังคับคดีนั้นเป็นอำนาจของคู่ความที่ชนะคดีจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมาย เมื่อคดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์และโจทก์ไม่อาจทราบได้ว่าจะได้รับส่วนแบ่งในทรัพย์พิพาทเป็นจำนวนเงินเท่าใด โจทก์ย่อมมีสิทธิรอให้คดีถึงที่สุดเสียก่อนจึงดำเนินการบังคับคดีต่อไป ทั้งการที่โจทก์ขอให้ห้ามโอนขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาททั้งหมดก็เพราะโจทก์อ้างว่ามีสิทธิได้รับมรดก 1 ใน 3ส่วนทุกรายการจึงไม่เป็นการห้ามเกินความจำเป็น
คำร้องของจำเลยที่ขอให้ศาลสั่งจำหน่ายและแบ่งทรัพย์มรดกพิพาทซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามโอน ขาย ยักย้าย ดังกล่าวอันพออนุโลมได้ว่าเป็นการร้องขอเพื่อให้ศาลมีคำสั่งกำหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264 นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลย่อมสั่งยกคำร้องโดยไม่จำต้องไต่สวน.
การบังคับคดีนั้นเป็นอำนาจของคู่ความที่ชนะคดีจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมาย เมื่อคดียังไม่ถึงที่สุดเพราะโจทก์อุทธรณ์และโจทก์ไม่อาจทราบได้ว่าจะได้รับส่วนแบ่งในทรัพย์พิพาทเป็นจำนวนเงินเท่าใด โจทก์ย่อมมีสิทธิรอให้คดีถึงที่สุดเสียก่อนจึงดำเนินการบังคับคดีต่อไป ทั้งการที่โจทก์ขอให้ห้ามโอนขาย ยักย้ายทรัพย์มรดกพิพาททั้งหมดก็เพราะโจทก์อ้างว่ามีสิทธิได้รับมรดก 1 ใน 3ส่วนทุกรายการจึงไม่เป็นการห้ามเกินความจำเป็น
คำร้องของจำเลยที่ขอให้ศาลสั่งจำหน่ายและแบ่งทรัพย์มรดกพิพาทซึ่งศาลได้มีคำสั่งห้ามโอน ขาย ยักย้าย ดังกล่าวอันพออนุโลมได้ว่าเป็นการร้องขอเพื่อให้ศาลมีคำสั่งกำหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 264 นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลย่อมสั่งยกคำร้องโดยไม่จำต้องไต่สวน.