คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
ศักดิ์ สนองชาติ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 767 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2568/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยกเลิกประกาศควบคุมราคาสินค้า ไม่กระทบความผิดที่เกิดขึ้นก่อนการยกเลิก
ประกาศคณะกรรมการกลางกำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาดฉบับที่ 86 พ.ศ. 2528 ซึ่งให้ ยกเลิก ประกาศคณะกรรมการกลางกำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด ฉบับที่76 พ.ศ. 2527 เรื่อง กำหนดมาตรการเกี่ยวกับการผลิตการจำหน่ายและการป้องกันการกักตุนสินค้าควบคุม มีผลเพียงว่านับแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2528 อันเป็นวันที่ประกาศฉบับที่86 พ.ศ. 2528 มีผลใช้บังคับ บุคคลซึ่งมีหน้าที่แจ้งปริมาณการจำหน่าย ปริมาณสินค้าคงเหลือและสถานที่เก็บสินค้าตามประกาศฉบับที่ 76 พ.ศ. 2527 ก็เป็นอันไม่ต้องยื่นแบบแจ้งรายละเอียดดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่อีกเท่านั้น จึงไม่ใช่กฎหมายที่บัญญัติในภายหลังบัญญัติว่า การกระทำของผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศฉบับที่ 76 พ.ศ. 2527 ไม่เป็นความผิดแต่อย่างใดจึงไม่มีผลลบล้างการกระทำของ จำเลยทั้งสองซึ่งเป็นความผิดตามประกาศฉบับที่ 76 พ.ศ. 2527ที่ออกตามความใน พ.ร.บ. กำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาดฯซึ่งใช้บังคับในขณะนั้น กรณีไม่ต้องตาม ป.อ. มาตรา 2 วรรคสอง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิครอบครองที่ดิน - การบุกรุก - ขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน - เหตุผลเชื่อว่ามีสิทธิครอบครอง
การที่ศาลจะมีอำนาจสั่งให้บุคคลใดออกไปจากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีที่ศาลพิพากษาว่าบุคคลดังกล่าวได้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9,108 ทวิ แล้ว เมื่อที่พิพาทยังไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์ และจำเลยยึดถือครอบครองอยู่โดยเชื่อว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจสั่งให้จำเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได้ การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอ เพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา 215และ 225

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองที่ดินโดยเชื่อสุจริตและการพิสูจน์ความเป็นที่สาธารณประโยชน์มีผลต่อความผิดฐานบุกรุกและขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน
การที่ศาลจะมีอำนาจสั่งให้บุคคลใดออกไปจากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีที่ศาลพิพากษาว่า บุคคลดังกล่าวได้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9, 108 ทวิ แล้ว เมื่อที่พิพาทยังไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์และจำเลยยึดถือครอบครองอยู่โดยเชื่อว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจสั่งให้จำเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได้
การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอเพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา215 และ 225.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2431/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองที่ดินโดยเชื่อว่ามีสิทธิ และความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงาน ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าไม่มีความผิด
การที่ศาลจะมีอำนาจสั่งให้บุคคลใดออกไปจากที่ดินของรัฐนั้นต้องเป็นกรณีที่ศาลพิพากษาว่า บุคคลดังกล่าวได้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9,108 ทวิ แล้ว เมื่อที่พิพาทยังไม่อาจฟังได้แน่ชัดว่าเป็นที่สาธารณประโยชน์และจำเลยยึดถือครอบครองอยู่โดยเชื่อว่าตนมีสิทธิครอบครองต่อจากบิดา จึงไม่เป็นความผิดตามบทบัญญัติดังกล่าว ศาลไม่อาจสั่งให้จำเลยและบริวารออกไปจากที่พิพาทได้ การที่จำเลยไม่ยอมออกจากที่พิพาทตามคำสั่งของนายอำเภอเพราะเชื่อว่าจำเลยมีสิทธิครอบครองซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันเดียวเกี่ยวพันกันกับที่วินิจฉัยมาแล้วว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดฐานบุกรุก จำเลยจึงไม่มีความผิดฐานขัดคำสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 368 แม้ปัญหานี้ยุติแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกาก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 185 ประกอบมาตรา215 และ 225.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2390/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การให้การในฐานะผู้ต้องหาที่ไม่คุ้มครองการหมิ่นประมาท
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 ให้สิทธิผู้ต้องหาที่จะให้การอย่างใด หรือไม่ให้การเลยก็ได้ แต่ถ้าคำให้การนั้นเป็นการหมิ่นประมาทผู้อื่น บทมาตรานี้ก็หาได้คุ้มครองการกระทำนั้นไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2390/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การให้การของผู้ต้องหาที่เป็นการหมิ่นประมาท ไม่ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 ให้สิทธิผู้ต้องหาที่จะให้การอย่างใด หรือไม่ให้การเลยก็ได้ แต่ถ้าคำให้การนั้นเป็นการหมิ่นประมาทผู้อื่น บทมาตรานี้ก็หาได้คุ้มครองการกระทำนั้นไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรับสารภาพและการฎีกาโต้แย้งข้อเท็จจริงที่ไม่เคยยกขึ้นสู่ศาล และการลงโทษตามกฎหมายศุลกากรที่บทบัญญัติจำกัดดุลพินิจศาล
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง คดีต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่าจำเลยมีเจตนากระทำผิดดังโจทก์ฟ้อง จำเลยจะฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นไม่ได้เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลล่าง ต้องห้ามฎีกาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 ประกอบด้วย ป.วิ.อ. มาตรา 15 ศาลฎีกาย่อมไม่รับวินิจฉัย.
ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษจำเลยฐานนำเงินตราไทยออกไปนอกราชอาณาจักรตาม พ.ร.บ. ศุลกากรฯ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทลงโทษหนักกว่า พ.ร.บ. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินฯซึ่งตามฟ้องของโจทก์ต้องด้วย พ.ร.บ. ศุลกากรฯ มาตรา 27โดยกฎหมายมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดว่า... สำหรับ ความผิด ครั้งหนึ่ง ๆ ให้ ปรับ เป็นเงิน สี่เท่า ราคาของ ซึ่ง ได้ รวม ค่าอากร ด้วย แล้ว หรือ จำคุกไม่เกิน สิบ ปี หรือ ทั้ง ปรับ ทั้ง จำ ดังนี้ เมื่อ ศาลชั้นต้นปรับ จำเลย เป็น เงิน สี่เท่า ของ จำนวน เงินตรา ที่ นำออกไปนอกราชอาณาจักร ตาม กฎหมาย ซึ่ง บทกฎหมาย ดังกล่าวมิได้ ให้ ดุลพินิจศาล ที่ จะ ใช้ อำนาจ ปรับ ให้ น้อย กว่า นั้นหรือ เป็น อย่างอื่น ได้ แล้ว ศาลฎีกา ย่อม ไม่อาจ ปรับ ให้น้อย ลง หรือ ลงโทษ สถานเบา กว่า ที่ ศาลชั้นต้น กำหนด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรับสารภาพคดีอาญา และข้อจำกัดในการโต้แย้งข้อเท็จจริงใหม่ในชั้นฎีกา รวมถึงการบังคับใช้บทลงโทษตามกฎหมายศุลกากร
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง คดีต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่า จำเลยมีเจตนากระทำผิดดังโจทก์ฟ้อง จำเลยจะฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลล่างต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษจำเลยฐานนำเงินตราไทยออกไปนอกราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469มาตรา 27 ซึ่งกฎหมายมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดว่า.. สำหรับความผิดครั้งหนึ่ง ๆ ให้ปรับเป็นเงินสี่เท่าราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรด้วยแล้ว หรือจำคุกไม่เกินสิบปีหรือทั้งปรับทั้งจำ บทกฎหมายดังกล่าวมิได้ให้ดุลพินิจศาลที่จะใช้อำนาจปรับให้น้อยกว่านั้นหรือเป็นอย่างอื่นได้ เมื่อศาลชั้นต้นปรับจำเลยเป็นเงินสี่เท่าของจำนวนเงินตราที่นำออกไปนอกราชอาณาจักรแล้ว ศาลฎีกาไม่อาจปรับให้น้อยลง หรือลงโทษสถานเบากว่าที่ศาลชั้นต้นกำหนด

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำรับสารภาพผูกพัน-โทษจำกัดตามกฎหมาย: ศาลฎีกาไม่ปรับโทษลดลง
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง คดีต้อง ฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่า จำเลยมีเจตนากระทำผิดดัง โจทก์ฟ้อง จำเลยจะฎีกาโต้เถียง ข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลล่าง ต้องห้าม ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ศาลฎีกาจึงไม่รับวินิจฉัย เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษจำเลยฐาน นำเงินตราไทยออกไปนอกราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัตศุลกากร พ.ศ. 2469 ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทลงโทษหนักกว่าพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485 ซึ่งตามฟ้องของโจทก์ต้องด้วย พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469มาตรา 27 โดย กฎหมายมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดว่า...สำหรับความผิดครั้งหนึ่ง ๆ ให้ปรับเป็นเงินสี่เท่าราคาของซึ่ง ได้ รวมค่าอากรด้วย แล้ว หรือจำคุกไม่เกินสิบปีหรือทั้งปรับทั้งจำ คดีนี้ศาลชั้นต้นปรับจำเลยเป็นเงินสี่เท่าของจำนวน เงินตรา ที่นำออกไปนอกราชอาณาจักรตาม กฎหมายแล้ว ซึ่ง บทกฎหมายดังกล่าวมิได้ให้ดุลพินิจ ศาลที่จะใช้ อำนาจปรับให้น้อยกว่านั้นหรือเป็นอย่างอื่นได้ ศาลฎีกาไม่อาจปรับให้น้อยลง หรือลงโทษสถานเบากว่าที่ศาลชั้นต้นกำหนด.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ คำรับสารภาพมีผลผูกพัน ห้ามฎีกาเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงเดิม และโทษปรับตามกฎหมายศุลกากรต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง คดีต้อง ฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่า จำเลยมีเจตนากระทำผิดดัง โจทก์ฟ้อง จำเลยจะฎีกาโต้เถียง ข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลล่าง ต้องห้าม ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ศาลฎีกาจึงไม่รับวินิจฉัย
เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษจำเลยฐาน นำเงินตราไทยออกไปนอกราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัตศุลกากร พ.ศ. 2469 ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทลงโทษหนักกว่าพระราชบัญญัติควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. 2485 ซึ่งตามฟ้องของโจทก์ต้องด้วย พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469มาตรา 27 โดย กฎหมายมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดว่า...สำหรับความผิดครั้งหนึ่ง ๆ ให้ปรับเป็นเงินสี่เท่าราคาของซึ่ง ได้ รวมค่าอากรด้วย แล้ว หรือจำคุกไม่เกินสิบปีหรือทั้งปรับทั้งจำ คดีนี้ศาลชั้นต้นปรับจำเลยเป็นเงินสี่เท่าของจำนวน เงินตรา ที่นำออกไปนอกราชอาณาจักรตาม กฎหมายแล้ว ซึ่ง บทกฎหมายดังกล่าวมิได้ให้ดุลพินิจ ศาลที่จะใช้ อำนาจปรับให้น้อยกว่านั้นหรือเป็นอย่างอื่นได้ ศาลฎีกาไม่อาจปรับให้น้อยลง หรือลงโทษสถานเบากว่าที่ศาลชั้นต้นกำหนด
of 77