พบผลลัพธ์ทั้งหมด 241 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3034/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมโอนทรัพย์สินที่กระทำโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหนี้สิน และรู้ว่าเป็นการทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 ได้รับจดทะเบียนนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินด้วยความประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ ม. อ. และโจทก์ซึ่งเป็นหน่วยราชการที่จำเลยที่ 1 รับราชการสังกัดอยู่ได้รับความเสียหาย เมื่อ อ. ฟ้องเรียกค่าเสียหายในการที่จำเลยที่ 1 ประมาทเลินเล่อเอาแก่โจทก์ จำเลยที่ 1กับพวก จำเลยที่ 1 ย่อมรู้ดีในขณะนั้นว่าหากโจทก์ต้องเสียค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ อ. โจทก์ย่อมมีสิทธิจะไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1 ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลัง ดังนั้นโจทก์จึงได้ชื่อว่าเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 ในความเสียหายที่จำเลยที่1 เป็นผู้ก่อให้เกิดขึ้นแก่โจทก์ โจทก์จึงอยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมการโอนที่ดินพิพาทของจำเลยที่ 1 หากจำเลยที่ 1 ได้กระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 ไม่มีทรัพย์สินอื่นใดนอกจากที่ดินพิพาทแปลงเดียว และจำเลยที่ 1 ได้โอนให้แก่จำเลยที่ 2ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรหลังจากที่โจทก์และจำเลยที่1 ถูก อ. ฟ้องให้ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 ก่อขึ้น การกระทำดังกล่าวเป็นการโอนเพื่อหลีกเลี่ยงและให้พ้นจากการถูกบังคับคดี จึงเป็นการกระทำโดยไม่สุจริตและเป็นการกระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์ผู้มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลังเสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 2 ถึงที่4 ซึ่งเป็นบุตรโดยเสน่หา ต่อมาจำเลยที่ 2 ถึงที่4 โอนใส่ชื่อจำเลยที่ 5 ถึงที่ 9 ให้ถือกรรมสิทธิ์รวมโดยเสน่หา เพียงแต่จำเลยที่ 1 เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ก็ขอให้เพิกถอนการโอนดังกล่าวได้
การที่ ธ. น้องชายสามีจำเลยที่ 1 ไถ่ถอนจำนองให้โดยมีข้อตกลงว่าจำเลยที่ 1 จะต้องโอนที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4ไม่เป็นการโอนที่มีค่าตอบแทน
จำเลยที่ 1 ไม่มีทรัพย์สินอื่นใดนอกจากที่ดินพิพาทแปลงเดียว และจำเลยที่ 1 ได้โอนให้แก่จำเลยที่ 2ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรหลังจากที่โจทก์และจำเลยที่1 ถูก อ. ฟ้องให้ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 ก่อขึ้น การกระทำดังกล่าวเป็นการโอนเพื่อหลีกเลี่ยงและให้พ้นจากการถูกบังคับคดี จึงเป็นการกระทำโดยไม่สุจริตและเป็นการกระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์ผู้มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลังเสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 2 ถึงที่4 ซึ่งเป็นบุตรโดยเสน่หา ต่อมาจำเลยที่ 2 ถึงที่4 โอนใส่ชื่อจำเลยที่ 5 ถึงที่ 9 ให้ถือกรรมสิทธิ์รวมโดยเสน่หา เพียงแต่จำเลยที่ 1 เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ก็ขอให้เพิกถอนการโอนดังกล่าวได้
การที่ ธ. น้องชายสามีจำเลยที่ 1 ไถ่ถอนจำนองให้โดยมีข้อตกลงว่าจำเลยที่ 1 จะต้องโอนที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4ไม่เป็นการโอนที่มีค่าตอบแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3034/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมโอนทรัพย์สินที่กระทำโดยเจตนาหลีกเลี่ยงการชดใช้ค่าเสียหายต่อเจ้าหนี้
จำเลยที่ 1 ได้รับจดทะเบียนนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินด้วยความประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้ ม. อ. และโจทก์ซึ่งเป็นหน่วยราชการที่จำเลยที่ 1 รับราชการสังกัดอยู่ได้รับความเสียหาย เมื่อ อ. ฟ้องเรียกค่าเสียหายในการที่จำเลยที่ 1 ประมาทเลินเล่อเอาแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 กับพวก จำเลยที่ 1 ย่อมรู้ดีในขณะนั้นว่าหากโจทก์ต้องเสียค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ อ. โจทก์ย่อมมีสิทธิจะไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1 ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลัง ดังนั้นโจทก์จึงได้ชื่อว่าเป็นเจ้าหนี้ของจำเลยที่ 1 ในความเสียหายที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้ก่อให้เกิดขึ้นแก่โจทก์ โจทก์จึงอยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมการโอนที่ดินพิพาทของจำเลยที่ 1 หากจำเลยที่ 1 ได้กระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 ไม่มีทรัพย์สินอื่นใดนอกจากที่ดินพิพาทแปลงเดียว และจำเลยที่ 1 ได้โอนให้แก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรหลังจากที่โจทก์และจำเลยที่ 1 ถูก อ. ฟ้องให้ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 ก่อขึ้น การกระทำดังกล่าวเป็นการโอนเพื่อหลีกเลี่ยงและให้พ้นจากการถูกบังคับคดี จึงเป็นการกระทำโดยไม่สุจริตและเป็นการกระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์ผู้มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1 ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลังเสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรโดยเสน่หา ต่อมาจำเลยที่ 2 ถึงที่4 โอนใส่ชื่อจำเลยที่ 5 ถึงที่ 9 ให้ถือกรรมสิทธิ์รวมโดยเสน่หา เพียงแต่จำเลยที่ 1 เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ก็ขอให้เพิกถอนการโอนดังกล่าวได้
การที่ ธ. น้องชายสามีจำเลยที่ 1 ไถ่ถอนจำนองให้โดยมีข้อตกลงว่าจำเลยที่ 1 จะต้องโอนที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ไม่เป็นการโอนที่มีค่าตอบแทน
จำเลยที่ 1 ไม่มีทรัพย์สินอื่นใดนอกจากที่ดินพิพาทแปลงเดียว และจำเลยที่ 1 ได้โอนให้แก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรหลังจากที่โจทก์และจำเลยที่ 1 ถูก อ. ฟ้องให้ร่วมกันรับผิดใช้ค่าเสียหายที่จำเลยที่ 1 ก่อขึ้น การกระทำดังกล่าวเป็นการโอนเพื่อหลีกเลี่ยงและให้พ้นจากการถูกบังคับคดี จึงเป็นการกระทำโดยไม่สุจริตและเป็นการกระทำลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็นทางให้โจทก์ผู้มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่จำเลยที่ 1 ผู้เป็นต้นเหตุทำความเสียหายได้ภายหลังเสียเปรียบ
จำเลยที่ 1 โอนที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ซึ่งเป็นบุตรโดยเสน่หา ต่อมาจำเลยที่ 2 ถึงที่4 โอนใส่ชื่อจำเลยที่ 5 ถึงที่ 9 ให้ถือกรรมสิทธิ์รวมโดยเสน่หา เพียงแต่จำเลยที่ 1 เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวว่าจะเป็นทางให้โจทก์เสียเปรียบ โจทก์ก็ขอให้เพิกถอนการโอนดังกล่าวได้
การที่ ธ. น้องชายสามีจำเลยที่ 1 ไถ่ถอนจำนองให้โดยมีข้อตกลงว่าจำเลยที่ 1 จะต้องโอนที่ดินพิพาทแก่จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ไม่เป็นการโอนที่มีค่าตอบแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2595/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมบังคับคดี: ผู้แพ้คดีต้องรับผิดชอบค่าธรรมเนียมยึดทรัพย์ แม้ไม่มีการขายทอดตลาด
ค่าธรรมเนียมการยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย เป็นค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีตามที่บัญญัติไว้ในตาราง 5(3) ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 วรรคแรกบัญญัติว่าความรับผิดชั้นที่สุดสำหรับค่าฤชาธรรมเนียมของคู่ความในคดีย่อมตกอยู่แก่คู่ความฝ่ายที่แพ้คดี และวรรคสอง บัญญัติว่าค่าฤชาธรรมเนียมให้รวมถึงค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีด้วย คดีนี้แม้โจทก์เป็นฝ่ายร้องขอยึดทรัพย์ของจำเลยชั่วคราวก่อนพิพากษาซึ่งเป็นการยึดทรัพย์สินที่ไม่ใช่ตัวเงินแล้ว.ไม่มีการขายหรือจำหน่าย โจทก์มีหน้าที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมการบังคับคดีในเบื้องแรกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 และเมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีแล้ว โจทก์ละเลยมิได้ขอหมายบังคับคดีภายในกำหนดที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 260(2) ทำให้ผลของคำสั่งศาลชั้นต้นเป็นอันยกเลิก ไม่มีผลใช้บังคับต่อไปก็ตามแต่ต่อมาเมื่อมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้โจทก์ชนะคดีและให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ จำเลยซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีจึงต้องรับผิดชำระค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2595/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมบังคับคดี: ผู้แพ้คดีต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย แม้โจทก์เป็นผู้ขออายัดทรัพย์ก่อน
ค่าธรรมเนียมการยึดทรัพย์สินซึ่งไม่ใช่ตัวเงินแล้วไม่มีการขายหรือจำหน่าย เป็นค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีตามที่บัญญัติไว้ในตาราง 5(3) ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 วรรคแรก บัญญัติว่าความรับผิดชั้นที่สุดสำหรับค่าฤชาธรรมเนียมของคู่ความในคดีย่อมตกอยู่แก่คู่ความฝ่ายที่แพ้คดี และวรรคสองบัญญัติว่าค่าฤชาธรรมเนียมให้รวมถึงค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีด้วย คดีนี้แม้โจทก์เป็นฝ่ายร้องขอยึดทรัพย์ของจำเลยชั่วคราวก่อนพิพากษาซึ่งเป็นการยึดทรัพย์สินที่ไม่ใช่ตัวเงินแล้ว.ไม่มีการขายหรือจำหน่าย โจทก์มีหน้าที่ต้องชำระค่าธรรมเนียมการบังคับคดีในเบื้องแรกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 และเมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีแล้ว โจทก์ละเลยมิได้ขอหมายบังคับคดีภายในกำหนดที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 260 (2) ทำให้ผลของคำสั่งศาลชั้นต้นเป็นอันยกเลิก ไม่มีผลใช้บังคับต่อไปก็ตาม แต่ต่อมาเมื่อมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้โจทก์ชนะคดีและให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์จำเลยซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีจึงต้องรับผิดชำระค่าธรรมเนียมในการบังคับคดีต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2434/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจตัวแทนช่วงนอกศาล การรับชำระหนี้ และความรับผิดจากละเมิด
เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 1 คดีสำหรับจำเลยที่ 3 จึงยุติไปแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 3 รับผิดต่อโจทก์ด้วย จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าที่ปรากฏในคำฟ้องอุทธรณ์ของโจทก์ ไม่ชอบด้วย ป.ว.พ. ม.142 และ ม.240 ศาลฎีกาต้องพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 3
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดจำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดจำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2434/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับชำระหนี้เกินอำนาจตัวแทนช่วง ละเมิดต่อเจ้าหนี้เดิม และขอบเขตการฟ้องคดี
เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 1คดีสำหรับจำเลยที่ 3 จึงยุติไปแล้ว ที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลยที่ 3 รับผิดต่อโจทก์ด้วย จึงเป็นการพิพากษาเกินไปกว่าที่ปรากฏในคำฟ้องอุทธรณ์ของโจทก์ ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. ม.142 และ ม.240 ศาลฎีกาต้องพิพากษายกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 3
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจ จำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2 นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาด จำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ. ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
จำเลยที่ 2 ผู้จัดการธนาคารสาขา ได้รับมอบอำนาจจากธนาคารจำเลยที่ 3 ได้แต่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นทนายความฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้และไถ่ถอนจำนอง ตามหนังสือมอบอำนาจ จำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจรับเงินในคดีแทนจำเลยที่ 2 นอกศาล การที่โจทก์มอบเช็คให้จำเลยที่ 1 ไปจัดการชำระหนี้ให้แก่จำเลยที่ 3 เพื่อมิให้ที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาด จำเลยที่ 1 ยอมรับเช็คไปดำเนินการตามความประสงค์ของโจทก์ จำเลยที่ 1 ย่อมได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนโดยปริยายของโจทก์แล้วตาม ป.พ.พ. ม.797 วรรคสอง หากมีความเสียหายเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 แล้ว ย่อมถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ทำละเมิด เมื่อที่ดินของโจทก์ต้องถูกขายทอดตลาดไปเพราะความประมาทเลินเล่อของจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1 ก็ต้องรับผิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2355/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีอาญาที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้โทษโดยรอการลงโทษ ถือเป็นคดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
ในการที่จะปรับว่าคดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่ ต้องพิจารณากระทงความผิดเป็นกระทงกระทงไป
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ปรับจำเลยที่ 1 กระทงแรก 4,000 บาท และให้จำคุกจำเลยที่ 1 อีก 2 กระทง กระทงละ 1 ปี และศาลอุทธรณ์ก็ยังคงลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่ เกินกำหนดที่ว่ามานี้ ถึงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่าให้รอการลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ไว้อันเป็นการแก้มากก็ตาม ก็ต้องถือว่าเป็นคดีที่ห้ามมิให้คู่ความ ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ปรับจำเลยที่ 1 กระทงแรก 4,000 บาท และให้จำคุกจำเลยที่ 1 อีก 2 กระทง กระทงละ 1 ปี และศาลอุทธรณ์ก็ยังคงลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่ เกินกำหนดที่ว่ามานี้ ถึงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่าให้รอการลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ไว้อันเป็นการแก้มากก็ตาม ก็ต้องถือว่าเป็นคดีที่ห้ามมิให้คู่ความ ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2355/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง พิจารณาเป็นกระทงความผิด
ในการที่จะปรับว่าคดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่ ต้องพิจารณากระทงความผิดเป็นกระทง ๆ ไป
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ปรับจำเลยที่ 1 กระทงแรก 4,000 บาท และให้จำคุกจำเลยที่ 1 อีก 2 กระทง กระทงละ 1 ปี และศาลอุทธรณ์ก็ยังคงลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่เกินกำหนดที่ว่ามานี้ ถึงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่าให้รอการลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ไว้อันเป็นการแก้มากก็ตาม ก็ต้องถือว่าเป็นคดีที่ห้ามมิให้คู่ความ ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้ปรับจำเลยที่ 1 กระทงแรก 4,000 บาท และให้จำคุกจำเลยที่ 1 อีก 2 กระทง กระทงละ 1 ปี และศาลอุทธรณ์ก็ยังคงลงโทษจำเลยที่ 1 ไม่เกินกำหนดที่ว่ามานี้ ถึงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้เป็นว่าให้รอการลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1 ไว้อันเป็นการแก้มากก็ตาม ก็ต้องถือว่าเป็นคดีที่ห้ามมิให้คู่ความ ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ซื้อจากการขายทอดตลาด แม้ทรัพย์สินไม่ใช่ของจำเลย ศาลสั่งออกใบแทน น.ส.3 ได้
สิทธิของผู้ซื้อที่พิพาทจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลโดยสุจริตย่อมไม่เสียไป แม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 และแม้ผู้ร้องยึดถือ น.ส.3 ก. สำหรับที่ดินดังกล่าวโดยชอบ เมื่อไม่ยอมมอบต่อศาล ศาลก็มีอำนาจสั่งให้นายอำเภอออกใบแทน น.ส.3 ก. สำหรับที่พิพาทเพื่อจดทะเบียนโอนสิทธิในที่ดินให้แก่ผู้ซื้อจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิผู้ซื้อจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล แม้ทรัพย์สินพิสูจน์ภายหลังว่าไม่ใช่ของลูกหนี้
สิทธิของผู้ซื้อที่พิพาทจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลโดยสุจริตย่อมไม่เสียไป แม้ภายหลังจะพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นมิใช่ของจำเลยหรือลูกหนี้ตามคำพิพากษาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330และแม้ผู้ร้องยึดถือ น.ส.3 ก. สำหรับที่ดินดังกล่าวโดยชอบ เมื่อไม่ยอมมอบต่อศาล ศาลก็มีอำนาจสั่งให้นายอำเภอออกใบแทนน.ส.3 ก. สำหรับที่พิพาทเพื่อจดทะเบียนโอนสิทธิในที่ดินให้แก่ผู้ซื้อจากการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาลได้