พบผลลัพธ์ทั้งหมด 390 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3940/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวแทนเชิดในสัญญาเช่าซื้อ: การผูกพันจำเลยจากการชำระเงินผ่านตัวแทน
การที่บริษัทจำเลยให้ ธ.เป็นผู้จัดการเกี่ยวกับสัญญาเช่าซื้อที่โจทก์ทำกับบริษัทจำเลย เช่นเมื่อบริษัทจำเลยส่งสัญญาเช่าซื้อและเอกสารบางอย่างไปที่ร้านของ ธ.แล้วธ.นำไปให้โจทก์ลงชื่อในฐานะผู้เช่าซื้อ และส่งกลับไปให้บริษัทจำเลยจนสำเร็จเป็นสัญญาเช่าซื้อ ตลอดจนเมื่อโจทก์ชำระเงินค่าทะเบียนรถยนต์พิพาทให้บริษัทจำเลยบริษัทจำเลยก็ได้ส่งทะเบียนรถไปให้โจทก์โดยผ่าน ธ.และในการชำระเงินค่าเช่าซื้อธ.ก็เป็นผู้รับจากโจทก์แล้วเป็นผู้จัดส่งไปให้บริษัทจำเลย ครั้งสุดท้ายเมื่อโจทก์แจ้งให้บริษัทจำเลยทราบว่า โจทก์ได้ชำระเงินให้กับ ธ.ครบถ้วนแล้วขอให้บริษัทจำเลยโอนทะเบียนรถยนต์พิพาทให้โจทก์ บริษัทจำเลยก็แจ้งให้โจทก์ทราบว่าจะจัดการปัญหาระหว่างโจทก์กับ ธ.ซึ่งต่อมาบริษัทจำเลยก็ได้แจ้งให้โจทก์ทราบว่า ธ.รับเงินค่างวดครั้งสุดท้ายไว้จากโจทก์จริงและบริษัทจำเลยได้ให้ ธ.ส่งให้แก่บริษัทจำเลยแล้วพฤติการณ์ที่ ธ.กับบริษัทจำเลยปฏิบัติต่อกันดังกล่าวมาย่อมถือได้ว่า ธ.เป็นตัวแทนเชิดของบริษัทจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3877/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้ถือหุ้น, ความรับผิดของจำเลยในคดีล้มละลาย, และการพิพากษายกฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เมื่อพิจารณาคำฟ้องแล้ว หากศาลเห็นว่าแม้เป็นจริงดังคำฟ้องโจทก์ก็ไม่มีทางชนะคดี ศาลก็มีอำนาจพิพากษายกฟ้องไปได้เลยตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 131
โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ล้มละลายฟ้องธนาคารจำเลยให้รับผิด อ้างว่าผิดสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีที่ทำไว้กับบริษัท กับไม่ออกเอกสารให้บริษัทไปออกสินค้าจากท่าเรือ ดังนี้ เป็นเรื่องบริษัทจะฟ้องร้องโจทก์จะอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1169 มาฟ้องร้องเสียเองไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้กรมบังคับคดีจำเลยรับผิด โดยมิได้บรรยายถึงข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักว่าจะต้องรับผิดในฐานะใดข้ออ้างนี้เป็นคนละเรื่องกับความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กับจำเลยตามพระราชบัญญัติล้มละลาย ฯ มาตรา 147 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว เว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาร้ายหรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เมื่อคำฟ้องไม่ได้แสดงว่าได้มีการกระทำดังกล่าว จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยรับผิดต่อโจทก์ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ล้มละลายฟ้องธนาคารจำเลยให้รับผิด อ้างว่าผิดสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีที่ทำไว้กับบริษัท กับไม่ออกเอกสารให้บริษัทไปออกสินค้าจากท่าเรือ ดังนี้ เป็นเรื่องบริษัทจะฟ้องร้องโจทก์จะอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1169 มาฟ้องร้องเสียเองไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้กรมบังคับคดีจำเลยรับผิด โดยมิได้บรรยายถึงข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักว่าจะต้องรับผิดในฐานะใดข้ออ้างนี้เป็นคนละเรื่องกับความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กับจำเลยตามพระราชบัญญัติล้มละลาย ฯ มาตรา 147 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว เว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาร้ายหรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เมื่อคำฟ้องไม่ได้แสดงว่าได้มีการกระทำดังกล่าว จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยรับผิดต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3877/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้อง, ผู้ถือหุ้นฟ้องแทนบริษัท, ความรับผิดของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์, การพิพากษายกฟ้องตามมาตรา 131
เมื่อพิจารณาคำฟ้องแล้ว หากศาลเห็นว่าแม้เป็นจริงดังคำฟ้องโจทก์ก็ไม่มีทางชนะคดี ศาลก็มีอำนาจพิพากษายกฟ้องไปได้เลยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 131
โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ล้มละลายฟ้องธนาคารจำเลยให้รับผิด อ้างว่าผิดสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีที่ทำไว้กับบริษัทกับไม่ออกเอกสารให้บริษัทไปออกสินค้าจากท่าเรือ ดังนี้ เป็นเรื่องบริษัทจะฟ้องร้องโจทก์จะอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1169 มาฟ้องร้องเสียเองไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้กรมบังคับคดีจำเลยรับผิด โดยมิได้บรรยายถึงข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักว่าจะต้องรับผิดในฐานะใดข้ออ้างนี้เป็นคนละเรื่องกับความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กับจำเลยตามพระราชบัญญัติล้มละลาย ฯ มาตรา 147 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว เว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาร้ายหรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเมื่อคำฟ้องไม่ได้แสดงว่าได้มีการกระทำดังกล่าว จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยรับผิดต่อโจทก์ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทผู้ล้มละลายฟ้องธนาคารจำเลยให้รับผิด อ้างว่าผิดสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีที่ทำไว้กับบริษัทกับไม่ออกเอกสารให้บริษัทไปออกสินค้าจากท่าเรือ ดังนี้ เป็นเรื่องบริษัทจะฟ้องร้องโจทก์จะอ้างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1169 มาฟ้องร้องเสียเองไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้กรมบังคับคดีจำเลยรับผิด โดยมิได้บรรยายถึงข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักว่าจะต้องรับผิดในฐานะใดข้ออ้างนี้เป็นคนละเรื่องกับความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กับจำเลยตามพระราชบัญญัติล้มละลาย ฯ มาตรา 147 ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว เว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาร้ายหรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเมื่อคำฟ้องไม่ได้แสดงว่าได้มีการกระทำดังกล่าว จึงไม่อาจบังคับให้จำเลยรับผิดต่อโจทก์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3863/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายจนได้รับอันตรายสาหัส: การพิจารณาเจตนาและเหตุผลในการกระทำความผิด
ศาลชั้นต้นลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 300 จำคุก 1 ปี 4 เดือน และปรับ 4,000 บาท ให้รอการลงโทษจำคุก 3 ปีศาลอุทธรณ์ลงโทษตาม มาตรา 297(8) จำคุก 2 ปีให้รอการลงโทษจำคุก 5 ปี เป็นการแก้บทลงโทษและกำหนดโทษแม้จะเป็นการแก้ไขมาก แต่การที่ศาลทั้งสองรอการลงโทษจำคุกถือไม่ได้ว่าศาลทั้งสองได้พิพากษา ลงโทษจำคุกจำเลยเกิน 1 ปี จึงต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
จำเลยเมาสุราได้ยิงปืนนัดแรกที่ห้องพักนัดที่สองยิงขึ้นฟ้าแล้วลดปืนลงกระสุนปืนนัดที่สามก็ลั่นถูกผู้เสียหายที่เอวเมื่อเป็นปืนลูกโม่ที่การยิงจะต้องเหนี่ยวไกทีละนัดกระสุนปืนนัดที่สามจึงลั่นเพราะเจตนาจะยิงแต่เป็นขณะเมาสุราไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อนไม่มีเหตุเพียงพอจะคิดฆ่าทั้งมิได้จ้องยิงตามปกติและในขณะอยู่ห่างกัน 2 เมตร ผู้เสียหายต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล 30 วันจำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297(8) มิใช่เป็นความผิดตามมาตรา 300
จำเลยเมาสุราได้ยิงปืนนัดแรกที่ห้องพักนัดที่สองยิงขึ้นฟ้าแล้วลดปืนลงกระสุนปืนนัดที่สามก็ลั่นถูกผู้เสียหายที่เอวเมื่อเป็นปืนลูกโม่ที่การยิงจะต้องเหนี่ยวไกทีละนัดกระสุนปืนนัดที่สามจึงลั่นเพราะเจตนาจะยิงแต่เป็นขณะเมาสุราไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อนไม่มีเหตุเพียงพอจะคิดฆ่าทั้งมิได้จ้องยิงตามปกติและในขณะอยู่ห่างกัน 2 เมตร ผู้เสียหายต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล 30 วันจำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297(8) มิใช่เป็นความผิดตามมาตรา 300
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3833/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการแก้ฟ้องของโจทก์ร่วมที่ดำเนินคดีโดยอาศัยฟ้องของพนักงานอัยการ และขอบเขตการลงโทษ
โจทก์ร่วมเข้ามาดำเนินคดีแก่จำเลยโดยอาศัยสิทธิตามฟ้องของพนักงานอัยการ จึงไม่มีอำนาจขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องให้นอกเหนือไปจากฟ้องของพนักงานอัยการ หากศาลชั้นต้นสั่งนัดไต่สวนมูลฟ้องส่วนที่โจทก์ร่วมขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องไว้ก็มีอำนาจสั่งงดเสียได้
เมื่อศาลมิได้อนุญาตให้แก้และเพิ่มเติมฟ้องตามคำร้องของโจทก์ร่วม จึงลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องนั้นไม่ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้จำคุกจำเลย 1 เดือนปรับ 500 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้ ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
เมื่อศาลมิได้อนุญาตให้แก้และเพิ่มเติมฟ้องตามคำร้องของโจทก์ร่วม จึงลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องนั้นไม่ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้จำคุกจำเลย 1 เดือนปรับ 500 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้ ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3833/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการแก้ฟ้องของโจทก์ร่วมที่ดำเนินคดีโดยอาศัยฟ้องของอัยการ และผลต่อการพิจารณาคดี
โจทก์ร่วมเข้ามาดำเนินคดีแก่จำเลยโดยอาศัยสิทธิตามฟ้องของพนักงานอัยการ จึงไม่มีอำนาจขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องให้นอกเหนือไปจากฟ้องของพนักงานอัยการ หากศาลชั้นต้นสั่งนัดไต่สวนมูลฟ้องส่วนที่โจทก์ร่วมขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องไว้ก็มีอำนาจสั่งงดเสียได้
เมื่อศาลมิได้อนุญาตให้แก้และเพิ่มเติมฟ้องตามคำร้องของโจทก์ร่วม จึงลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องนั้นไม่ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้จำคุกจำเลย 1 เดือนปรับ 500 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้ ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา218
เมื่อศาลมิได้อนุญาตให้แก้และเพิ่มเติมฟ้องตามคำร้องของโจทก์ร่วม จึงลงโทษจำเลยตามบทมาตราที่ขอแก้และเพิ่มเติมฟ้องนั้นไม่ได้
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้นให้จำคุกจำเลย 1 เดือนปรับ 500 บาท โทษจำคุกให้รอการลงโทษไว้ ต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3722/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจในการยื่นคำร้องตาม พ.ร.บ.ล้มละลายสงวนไว้สำหรับลูกหนี้ เจ้าหนี้ หรือผู้ได้รับความเสียหายโดยตรง
บุคคลที่อาจยื่นคำร้องต่อศาลขอให้ศาลสั่งตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 146 ได้ จะต้องเป็นบุคคลล้มละลาย เจ้าหนี้ หรือบุคคลที่ได้รับความเสียหายโดยการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ในกรณีนี้ผู้ที่หากจะได้รับความเสียหายก็คือบริษัทลูกหนี้(จำเลย) ผู้ร้องเป็นเพียงผู้ถือหุ้นของบริษัทลูกหนี้(จำเลย) ไม่มีอำนาจกระทำการใด ๆ แทนบริษัทลูกหนี้(จำเลย) นอกจากจะมีกฎหมายให้อำนาจผู้ถือหุ้นไว้ดังเช่นมาตรา 1169 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังนั้นผู้ร้องจึงไม่มีอำนาจยื่นคำร้องในกรณีนี้ได้ กฎหมายล้มละลายเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะมิได้ยกความข้อนี้ขึ้นคัดค้านศาลก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3722/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจการยื่นคำร้องตาม พ.ร.บ.ล้มละลายฯ ผู้ถือหุ้นไม่มีสิทธิหากไม่ได้รับความเสียหายโดยตรง
บุคคลที่อาจยื่นคำร้องต่อศาลขอให้ศาลสั่งตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 146 ได้ จะต้องเป็นบุคคลล้มละลาย เจ้าหนี้ หรือบุคคลที่ได้รับความเสียหายโดยการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ในกรณีนี้ผู้ที่หากจะได้รับความเสียหายก็คือบริษัทลูกหนี้ (จำเลย) ผู้ร้องเป็นเพียงผู้ถือหุ้นของบริษัทลูกหนี้ (จำเลย) ไม่มีอำนาจกระทำการใด ๆ แทนบริษัทลูกหนี้ (จำเลย) นอกจากจะมีกฎหมายให้อำนาจผู้ถือหุ้นไว้ดังเช่นมาตรา 1169 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังนั้นผู้ร้องจึงไม่มีอำนาจยื่นคำร้องในกรณีนี้ได้ กฎหมายล้มละลายเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะมิได้ยกความข้อนี้ขึ้นคัดค้านศาลก็มีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3718/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อไม่เป็นนิติกรรมอำพราง ผู้เช่าซื้อผิดสัญญา เจ้าของทรัพย์มีสิทธิเรียกค่าเสียหาย
การให้เช่าซื้อเป็นธุรกิจหนึ่งซึ่งรวมอยู่ในธุรกิจการค้าอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัดแม้โจทก์จะไม่มีสินค้าของตนเอง ก็อาจนำเอาสินค้ามาให้ลูกค้าทำการเช่าซื้อได้.โดยทำสัญญาเช่าซื้อกันไว้ล่วงหน้าให้มีผลบังคับกันได้ในเมื่อโจทก์เป็นเจ้าของทรัพย์แล้วมิใช่ว่าเมื่อไม่มีสินค้าของตนเองแล้วจะประกอบธุรกิจการค้าประเภทนี้ไม่ได้
จำเลยยอมสนองรับข้อเสนอของโจทก์ในอันที่จะผูกพันตนตามสัญญาเช่าซื้อซึ่งตนรู้ถึงวัตถุประสงค์ของการทำสัญญาดังกล่าวเป็นอย่างดี ทั้งยังได้ยอมรับเงื่อนไขต่าง ๆรวมทั้งการชำระหนี้อันเป็นผลโดยตรงที่คู่กรณียอมรับนับถือและให้พึงใช้บังคับต่อกันตามข้อสัญญา ดังนี้สัญญาเช่าซื้อดังกล่าวจึงเป็นนิติกรรมที่ใช้บังคับแก่คู่กรณีได้หาใช่นิติกรรมอำพรางการกู้เงินไม่
ในเรื่องการเช่าซื้อ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อยังคงเป็นของผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อประพฤติผิดสัญญาเจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ บรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วเจ้าของทรัพย์สินชอบที่จะริบและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574และเมื่อได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว ย่อมมีผลทำให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายได้กลับคืนสู่ฐานะเดิมของตนที่เป็นอยู่แต่ไม่มีผลกระทบกระทั่งสิทธิในอันที่จะเรียกร้องค่าเสียหายแก่กันดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 391
สัญญาเช่าซื้อกำหนดผ่อนชำระค่าเช่าซื้อเป็นงวดรายเดือนเริ่มงวดแรกภายในวันที่ 22 ตุลาคม 2521 งวดต่อไปภายในวันที่ 22 ของทุก ๆ เดือน จำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามสัญญานับแต่งวดที่ 5 ซึ่งครบกำหนดชำระในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นการผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติด ๆ กัน ถือว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินที่เช่าซื้อได้ตั้งแต่วันที่มีการผิดนัดเป็นต้นมา เมื่อจำเลยยังคงครอบครองและใช้ประโยชน์ในตัวทรัพย์นั้นมาโดยตลอด ย่อมทำให้โจทก์เสียหาย โจทก์ชอบที่จะเรียกค่าที่จำเลยได้ใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยครอบครองทรัพย์ ถือตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2522 เป็นต้นมาตามมาตรา 391 วรรคสาม
จำเลยยอมสนองรับข้อเสนอของโจทก์ในอันที่จะผูกพันตนตามสัญญาเช่าซื้อซึ่งตนรู้ถึงวัตถุประสงค์ของการทำสัญญาดังกล่าวเป็นอย่างดี ทั้งยังได้ยอมรับเงื่อนไขต่าง ๆรวมทั้งการชำระหนี้อันเป็นผลโดยตรงที่คู่กรณียอมรับนับถือและให้พึงใช้บังคับต่อกันตามข้อสัญญา ดังนี้สัญญาเช่าซื้อดังกล่าวจึงเป็นนิติกรรมที่ใช้บังคับแก่คู่กรณีได้หาใช่นิติกรรมอำพรางการกู้เงินไม่
ในเรื่องการเช่าซื้อ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อยังคงเป็นของผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อประพฤติผิดสัญญาเจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ บรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วเจ้าของทรัพย์สินชอบที่จะริบและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574และเมื่อได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว ย่อมมีผลทำให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายได้กลับคืนสู่ฐานะเดิมของตนที่เป็นอยู่แต่ไม่มีผลกระทบกระทั่งสิทธิในอันที่จะเรียกร้องค่าเสียหายแก่กันดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 391
สัญญาเช่าซื้อกำหนดผ่อนชำระค่าเช่าซื้อเป็นงวดรายเดือนเริ่มงวดแรกภายในวันที่ 22 ตุลาคม 2521 งวดต่อไปภายในวันที่ 22 ของทุก ๆ เดือน จำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามสัญญานับแต่งวดที่ 5 ซึ่งครบกำหนดชำระในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นการผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติด ๆ กัน ถือว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินที่เช่าซื้อได้ตั้งแต่วันที่มีการผิดนัดเป็นต้นมา เมื่อจำเลยยังคงครอบครองและใช้ประโยชน์ในตัวทรัพย์นั้นมาโดยตลอด ย่อมทำให้โจทก์เสียหาย โจทก์ชอบที่จะเรียกค่าที่จำเลยได้ใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยครอบครองทรัพย์ ถือตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2522 เป็นต้นมาตามมาตรา 391 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3718/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อไม่เป็นนิติกรรมอำพราง ผู้เช่าซื้อผิดสัญญา เจ้าของทรัพย์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหาย
การให้เช่าซื้อเป็นธุรกิจหนึ่งซึ่งรวมอยู่ในธุรกิจการค้าอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ของโจทก์ซึ่งเป็นบริษัทจำกัดแม้โจทก์จะไม่มีสินค้าของตนเอง ก็อาจนำเอาสินค้ามาให้ลูกค้าทำการเช่าซื้อได้.โดยทำสัญญาเช่าซื้อกันไว้ล่วงหน้าให้มีผลบังคับกันได้ในเมื่อโจทก์เป็นเจ้าของทรัพย์แล้วมิใช่ว่าเมื่อไม่มีสินค้าของตนเองแล้วจะประกอบธุรกิจการค้าประเภทนี้ไม่ได้
จำเลยยอมสนองรับข้อเสนอของโจทก์ในอันที่จะผูกพันตนตามสัญญาเช่าซื้อซึ่งตนรู้ถึงวัตถุประสงค์ของการทำสัญญาดังกล่าวเป็นอย่างดี ทั้งยังได้ยอมรับเงื่อนไขต่าง ๆ รวมทั้งการชำระหนี้อันเป็นผลโดยตรงที่คู่กรณียอมรับนับถือและให้พึงใช้บังคับต่อกันตามข้อสัญญา ดังนี้สัญญาเช่าซื้อดังกล่าวจึงเป็นนิติกรรมที่ใช้บังคับแก่คู่กรณีได้หาใช่นิติกรรมอำพรางการกู้เงินไม่
ในเรื่องการเช่าซื้อ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อยังคงเป็นของผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อประพฤติผิดสัญญาเจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ บรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วเจ้าของทรัพย์สินชอบที่จะริบและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 และเมื่อได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว ย่อมมีผลทำให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายได้กลับคืนสู่ฐานะเดิมของตนที่เป็นอยู่แต่ไม่มีผลกระทบกระทั่งสิทธิในอันที่จะเรียกร้องค่าเสียหายแก่กันดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 391
สัญญาเช่าซื้อกำหนดผ่อนชำระค่าเช่าซื้อเป็นงวดรายเดือนเริ่มงวดแรกภายในวันที่ 22 ตุลาคม 2521 งวดต่อไปภายในวันที่ 22 ของทุก ๆ เดือน จำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามสัญญานับแต่งวดที่ 5 ซึ่งครบกำหนดชำระในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นการผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติด ๆ กัน ถือว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินที่เช่าซื้อได้ตั้งแต่วันที่มีการผิดนัดเป็นต้นมา เมื่อจำเลยยังคงครอบครองและใช้ประโยชน์ในตัวทรัพย์นั้นมาโดยตลอด ย่อมทำให้โจทก์เสียหาย โจทก์ชอบที่จะเรียกค่าที่จำเลยได้ใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยครอบครองทรัพย์ ถือตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2522 เป็นต้นมาตามมาตรา 391 วรรคสาม
จำเลยยอมสนองรับข้อเสนอของโจทก์ในอันที่จะผูกพันตนตามสัญญาเช่าซื้อซึ่งตนรู้ถึงวัตถุประสงค์ของการทำสัญญาดังกล่าวเป็นอย่างดี ทั้งยังได้ยอมรับเงื่อนไขต่าง ๆ รวมทั้งการชำระหนี้อันเป็นผลโดยตรงที่คู่กรณียอมรับนับถือและให้พึงใช้บังคับต่อกันตามข้อสัญญา ดังนี้สัญญาเช่าซื้อดังกล่าวจึงเป็นนิติกรรมที่ใช้บังคับแก่คู่กรณีได้หาใช่นิติกรรมอำพรางการกู้เงินไม่
ในเรื่องการเช่าซื้อ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อยังคงเป็นของผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อประพฤติผิดสัญญาเจ้าของทรัพย์สินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได้ บรรดาเงินที่ได้ใช้มาแล้วเจ้าของทรัพย์สินชอบที่จะริบและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินนั้นได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 574 และเมื่อได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว ย่อมมีผลทำให้คู่สัญญาแต่ละฝ่ายได้กลับคืนสู่ฐานะเดิมของตนที่เป็นอยู่แต่ไม่มีผลกระทบกระทั่งสิทธิในอันที่จะเรียกร้องค่าเสียหายแก่กันดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 391
สัญญาเช่าซื้อกำหนดผ่อนชำระค่าเช่าซื้อเป็นงวดรายเดือนเริ่มงวดแรกภายในวันที่ 22 ตุลาคม 2521 งวดต่อไปภายในวันที่ 22 ของทุก ๆ เดือน จำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามสัญญานับแต่งวดที่ 5 ซึ่งครบกำหนดชำระในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นการผิดนัดไม่ใช้เงินสองคราวติด ๆ กัน ถือว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์ชอบที่จะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและกลับเข้าครอบครองทรัพย์สินที่เช่าซื้อได้ตั้งแต่วันที่มีการผิดนัดเป็นต้นมา เมื่อจำเลยยังคงครอบครองและใช้ประโยชน์ในตัวทรัพย์นั้นมาโดยตลอด ย่อมทำให้โจทก์เสียหาย โจทก์ชอบที่จะเรียกค่าที่จำเลยได้ใช้ทรัพย์ของโจทก์มาตลอดระยะเวลาที่จำเลยครอบครองทรัพย์ ถือตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2522 เป็นต้นมาตามมาตรา 391 วรรคสาม