พบผลลัพธ์ทั้งหมด 413 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2490/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างระหว่างการเจรจาข้อเรียกร้อง: คุ้มครองลูกจ้างแม้มีเหตุเลิกจ้างตามข้อตกลง
โจทก์เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ยื่นข้อเรียกร้องต่อจำเลย ขณะที่ข้อเรียกร้องยังอยู่ในระหว่างการเจรจา ถ้าการปฏิบัติงานของโจทก์ไม่ใช่การกระทำตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 31(1) ถึง (4) แล้ว จำเลยยังไม่มีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ระหว่างนั้นแม้ตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างจำเลยจะมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ได้ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2490/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างระหว่างการเจรจาข้อเรียกร้อง: สิทธิของลูกจ้างและข้อยกเว้นตามกฎหมาย
โจทก์เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานที่ยื่นข้อเรียกร้องต่อจำเลย ขณะที่ข้อเรียกร้องยังอยู่ในระหว่างการเจรจา ถ้าการปฏิบัติงานของโจทก์ไม่ใช่การกระทำตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 31(1) ถึง (4) แล้ว จำเลยยังไม่มีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ระหว่างนั้น แม้ตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างจำเลยจะมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ได้ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2376/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหัวหน้าคณะปฏิรูปฯ ในการสั่งให้ข้าราชการออกจากราชการหลังยึดอำนาจ และสิทธิการกลับเข้ารับราชการ
เมื่อคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินยึดอำนาจของรัฐได้โดยเด็ดขาดแล้วหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยย่อมมีอำนาจแต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการได้คำสั่งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่ 9/2519 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2519เป็นคำสั่งเกี่ยวเนื่องกับการบริหารราชการแผ่นดิน แม้ก่อนหน้านั้นจะมีคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินให้บรรดาอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ว่าเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีให้เป็นอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินหรือผู้ที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมอบหมาย และให้บรรดาอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ว่าเป็นอำนาจของรัฐมนตรี ให้เป็นอำนาจของปลัดกระทรวง คำสั่งดังกล่าวก็ไม่ตัดอำนาจของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่จะสั่งการเป็นกรณีเฉพาะเรื่อง เฉพาะรายตามอำนาจที่มีอยู่ ดังนั้น คำสั่งดังกล่าวจึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์เป็นข้าราชการ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากราชการ โจทก์จะฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยบรรจุโจทก์กลับเข้ารับราชการไม่ได้ เพราะการขอกลับเข้ารับราชการนั้นขึ้นอยู่กับทางราชการว่าต้องการจะรับโจทก์เข้ารับราชการหรือไม่ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 มาตรา 57
โจทก์เป็นข้าราชการ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากราชการ โจทก์จะฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยบรรจุโจทก์กลับเข้ารับราชการไม่ได้ เพราะการขอกลับเข้ารับราชการนั้นขึ้นอยู่กับทางราชการว่าต้องการจะรับโจทก์เข้ารับราชการหรือไม่ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 มาตรา 57
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2376/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในการแต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการหลังการยึดอำนาจ
เมื่อคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินยึดอำนาจของรัฐได้โดยเด็ดขาดแล้วหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตย ย่อมมีอำนาจแต่งตั้งและถอดถอนข้าราชการได้ คำสั่งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่ 9/2519 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2519 เป็นคำสั่งเกี่ยวเนื่องกับการบริหารราชการแผ่นดิน แม้ก่อนหน้านั้นจะมีคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินให้บรรดาอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ว่าเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีให้เป็นอำนาจหน้าที่ของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินหรือผู้ที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมอบหมาย และให้บรรดาอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายได้บัญญัติไว้ว่าเป็นอำนาจของรัฐมนตรี ให้เป็นอำนาจของปลัดกระทรวง คำสั่งดังกล่าวก็ไม่ตัดอำนาจของหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่จะสั่งการเป็นกรณีเฉพาะเรื่องเฉพาะรายตามอำนาจที่มีอยู่ ดังนั้น คำสั่งดังกล่าวจึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
โจทก์เป็นข้าราชการ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากราชการ โจทก์จะฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยบรรจุโจทก์กลับเข้ารับราชการไม่ได้ เพราะการขอกลับเข้ารับราชการนั้นขึ้นอยู่กับทางราชการว่าต้องการจะรับโจทก์เข้ารับราชการหรือไม่ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 มาตรา 57
โจทก์เป็นข้าราชการ หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินมีคำสั่งให้โจทก์ออกจากราชการ โจทก์จะฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยบรรจุโจทก์กลับเข้ารับราชการไม่ได้ เพราะการขอกลับเข้ารับราชการนั้นขึ้นอยู่กับทางราชการว่าต้องการจะรับโจทก์เข้ารับราชการหรือไม่ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 มาตรา 57
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2215/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับประกันภัย: จำเลยปฏิเสธความเกี่ยวพันกับผู้ทำละเมิด ศาลต้องถือว่าไม่มีนิติสัมพันธ์
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดในฐานะผู้รับประกันภัยรถยนต์ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 ให้การว่ารับประกันภัยรถคันนี้ไว้จากห้าง ส. ไม่มีความเกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วมรับผิด ศาลชั้นต้นชี้สองสถานโดยมิได้กำหนดประเด็นข้อนี้ไว้และไม่มีคู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดโต้แย้ง จึงไม่มีประเด็นพิพาทในเรื่องนี้ และการที่จำเลยที่ 3 ให้การดังกล่าวก็ไม่เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่ เพราะการระบุชื่อห้าง ส. เป็นเพียงรายละเอียดที่แสดงให้เห็นชัดขึ้นว่าไม่ได้เกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2 ฉะนั้น คดีต้องฟังว่าจำเลยที่ 3 มิได้รับประกันภัยจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2215/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการรับประกันภัยของคู่กรณี ศาลฎีกาตัดสินว่าไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหาย
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยที่ 3 ร่วมรับผิดในฐานะผู้รับประกันภัยรถยนต์ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 ให้การว่ารับประกันภัยรถคันนี้ไว้จากห้าง ส. ไม่มีความเกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วม รับผิด ศาลชั้นต้นชี้สองสถานโดยมิได้กำหนดประเด็นข้อนี้ ไว้และไม่มีคู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดโต้แย้ง จึงไม่มีประเด็นพิพาทในเรื่องนี้ และการที่จำเลยที่ 3 ให้การดังกล่าวก็ไม่เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่ เพราะการระบุชื่อห้าง ส. เป็นเพียงรายละเอียดที่แสดงให้เห็นชัดขึ้นว่าไม่ได้เกี่ยวพันกับจำเลยที่ 2. ฉะนั้น คดีต้องฟังว่าจำเลยที่ 3 มิได้รับประกันภัยจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 3 จึงไม่ต้องร่วมรับผิดกับจำเลยที่ 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2046/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าทนายความในคดีแพ่งที่พนักงานอัยการดำเนินคดีแทนโจทก์: สิทธิเรียกร้องค่าทนายความ
ในกรณีที่ไม่อาจฟ้องบุพการีได้เพราะต้องห้ามตามกฎหมายจึงร้องขอให้พนักงานอัยการเป็นโจทก์ดำเนินคดีแพ่งแทนนั้นพนักงานอัยการเป็นตัวโจทก์ว่าความเองจึงไม่มีสิทธิได้รับค่าทนายความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2029/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการพิจารณาเอกสารพยานหลักฐาน และการรับฟังเอกสารที่ไม่ได้ส่งให้คู่ความก่อนสืบพยาน
การที่จะส่งเอกสารไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ เป็นสิทธิของคู่ความไม่ใช่หน้าที่ของศาล แต่การตรวจพิจารณาเปรียบเทียบลายมือชื่อในเอกสารที่คู่ความส่งต่อศาลเป็นการพิจารณาอย่างหนึ่ง ศาลย่อมมีอำนาจทำได้
จำเลยไม่ได้คัดค้านในการที่โจทก์ไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้จำเลยทราบก่อนวันสืบพยาน เมื่อศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีอำนาจรับฟังเอกสารดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
จำเลยไม่ได้คัดค้านในการที่โจทก์ไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้จำเลยทราบก่อนวันสืบพยาน เมื่อศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีอำนาจรับฟังเอกสารดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2029/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการพิจารณาเอกสารพยาน และการรับฟังเอกสารโดยคู่ความมิได้คัดค้าน
การที่จะส่งเอกสารไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ เป็นสิทธิของคู่ความไม่ใช่หน้าที่ของศาล แต่การตรวจพิจารณาเปรียบเทียบลายมือชื่อในเอกสารที่คู่ความส่งต่อศาลเป็นการพิจารณาอย่างหนึ่ง ศาลย่อมมีอำนาจทำได้
จำเลยไม่ได้คัดค้านในการที่โจทก์ไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้จำเลยทราบก่อนวันสืบพยาน เมื่อศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีอำนาจรับฟังเอกสารดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
จำเลยไม่ได้คัดค้านในการที่โจทก์ไม่ได้ส่งสำเนาเอกสารให้จำเลยทราบก่อนวันสืบพยาน เมื่อศาลเห็นว่าเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ย่อมมีอำนาจรับฟังเอกสารดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 87(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1906-1907/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในบ้านพิพาท: ศาลพิจารณาจากเอกสารราชการและพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความเป็นเจ้าของ
ประเด็นพิพาทมีว่า บ้านพิพาทเป็นของโจทก์หรือจำเลยเป็นเรื่องใครเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ ข้อแก้ฎีกาของจำเลยที่ว่า โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง เพราะยังไม่ได้เข้าครอบครองที่พิพาทซึ่งบ้านพิพาทปลูกอยู่ จึงตกไปเพราะถ้าโจทก์เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์แล้ว จำเลยก็ไม่มีสิทธิจะอยู่ได้ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลยออกจากบ้านพิพาทได้