พบผลลัพธ์ทั้งหมด 413 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2856/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับระยะเวลาใน พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ และอำนาจขยายเวลาของรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ มิได้กำหนดวิธีการนับระยะเวลาไว้ จึงต้องนำวิธีการกำหนดนับระยะเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 158 มาใช้บังคับคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้รับคำร้องของนายเกรียงศักดิ์ นพศรี ลูกจ้าง เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2524 จึงจะนับวันแรกที่คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้รับคำร้องรวมคำนวณด้วยไม่ได้กำหนดระยะเวลาเก้าสิบวันตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯมาตรา 125 จึงต้องเริ่มนับจาก วันที่ 28 พฤษภาคม 2524 และจะครบกำหนดเก้าสิบวันในวันที่ 25 สิงหาคม 2524
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 125 วรรคสองให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยใช้ดุลพินิจในการขยายเวลาการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่มีข้อจำกัดหรือกำหนดวิธีการในการร้องขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งอนุญาตไว้แต่อย่างใด เมื่อมีคำขออนุมัติขยายเวลาชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไปอีกสามสิบวัน นับแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2524 ถึงวันที่ 24 กันยายน 2524 ทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งอนุมัติให้ขยายระยะเวลาตามคำขอนั้นแล้ว และคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งก่อนครบกำหนดสามสิบวัน ตามที่ได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไป คำสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 125 วรรคสองให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยใช้ดุลพินิจในการขยายเวลาการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่มีข้อจำกัดหรือกำหนดวิธีการในการร้องขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งอนุญาตไว้แต่อย่างใด เมื่อมีคำขออนุมัติขยายเวลาชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไปอีกสามสิบวัน นับแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2524 ถึงวันที่ 24 กันยายน 2524 ทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งอนุมัติให้ขยายระยะเวลาตามคำขอนั้นแล้ว และคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งก่อนครบกำหนดสามสิบวัน ตามที่ได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไป คำสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2856/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับระยะเวลาตามพรบ.แรงงานสัมพันธ์และการขยายเวลาพิจารณาของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ มิได้กำหนดวิธีการนับระยะเวลาไว้จึงต้องนำวิธีการกำหนดนับระยะเวลาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 มาใช้บังคับคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้รับคำร้องของนายเกรียงศักดิ์นพศรี ลูกจ้าง เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2524 จึงจะนับวันแรกที่คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้รับคำร้องรวมคำนวณด้วยไม่ได้กำหนดระยะเวลาเก้าสิบวันตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯมาตรา 125 จึงต้องเริ่มนับจาก วันที่ 28 พฤษภาคม 2524 และจะครบกำหนดเก้าสิบวันในวันที่ 25 สิงหาคม 2524
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 125 วรรคสองให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยใช้ดุลพินิจในการขยายเวลาการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่มีข้อจำกัดหรือกำหนดวิธีการในการร้องขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งอนุญาตไว้แต่อย่างใด เมื่อมีคำขออนุมัติขยายเวลาชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไปอีกสามสิบวัน นับแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2524 ถึงวันที่24 กันยายน 2524 ทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งอนุมัติให้ขยายระยะเวลาตามคำขอนั้นแล้ว และคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งก่อนครบกำหนดสามสิบวัน ตามที่ได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไป คำสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 125 วรรคสองให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยใช้ดุลพินิจในการขยายเวลาการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไว้อย่างกว้างขวาง ไม่มีข้อจำกัดหรือกำหนดวิธีการในการร้องขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งอนุญาตไว้แต่อย่างใด เมื่อมีคำขออนุมัติขยายเวลาชี้ขาดของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ไปอีกสามสิบวัน นับแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2524 ถึงวันที่24 กันยายน 2524 ทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้มีคำสั่งอนุมัติให้ขยายระยะเวลาตามคำขอนั้นแล้ว และคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ได้มีคำสั่งก่อนครบกำหนดสามสิบวัน ตามที่ได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาออกไป คำสั่งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ จึงเป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2828-2829/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมและการสั่งให้ลูกจ้างเบิกความที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำงาน
อุทธรณ์ของโจทก์เพียงแต่นำคำเบิกความของตัวโจทก์และพยานมากล่าว แล้วสรุปตามคำเบิกความนั้นว่าคำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลางคลาดเคลื่อนต่อกฎหมายมิได้โต้แย้งว่าคำวินิจฉัยนั้นคลาดเคลื่อนไม่ชอบด้วยกฎหมายอย่างไรให้ชัดแจ้ง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบ
ลูกจ้างเป็นผู้ช่วยสมุหบัญชี ไม่มีหน้าที่ต้องไปศาลการที่นายจ้างให้ลูกจ้างนั้นไปเบิกความที่ศาลจึงไม่เกี่ยวกับการทำงาน ไม่เป็นคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้างตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน ดังนั้นเมื่อลูกจ้างไม่ไปเบิกความตามที่นายจ้างสั่งจึงไม่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
ลูกจ้างเป็นผู้ช่วยสมุหบัญชี ไม่มีหน้าที่ต้องไปศาลการที่นายจ้างให้ลูกจ้างนั้นไปเบิกความที่ศาลจึงไม่เกี่ยวกับการทำงาน ไม่เป็นคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้างตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน ดังนั้นเมื่อลูกจ้างไม่ไปเบิกความตามที่นายจ้างสั่งจึงไม่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2828-2829/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมและการสั่งให้ลูกจ้างเบิกความที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน
อุทธรณ์ของโจทก์เพียงแต่นำคำเบิกความของตัวโจทก์และพยานมากล่าว แล้วสรุปตามคำเบิกความนั้นว่าคำวินิจฉัยของศาลแรงงานกลางคลาดเคลื่อนต่อกฎหมายมิได้โต้แย้งว่าคำวินิจฉัยนั้นคลาดเคลื่อนไม่ชอบด้วยกฎหมายอย่างไรให้ชัดแจ้ง เป็นอุทธรณ์ที่ไม่ชอบ
ลูกจ้างเป็นผู้ช่วยสมุหบัญชี ไม่มีหน้าที่ต้องไปศาลการที่นายจ้างให้ลูกจ้างนั้นไปเบิกความที่ศาลจึงไม่เกี่ยวกับการทำงาน ไม่เป็นคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้างตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน ดังนั้นเมื่อลูกจ้างไม่ไปเบิกความตามที่นายจ้างสั่งจึงไม่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
ลูกจ้างเป็นผู้ช่วยสมุหบัญชี ไม่มีหน้าที่ต้องไปศาลการที่นายจ้างให้ลูกจ้างนั้นไปเบิกความที่ศาลจึงไม่เกี่ยวกับการทำงาน ไม่เป็นคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้างตามกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงาน ดังนั้นเมื่อลูกจ้างไม่ไปเบิกความตามที่นายจ้างสั่งจึงไม่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งของนายจ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างต้องเป็นไปตามเหตุในกฎหมาย การลาป่วย/ลากิจผิดระเบียบไม่ใช่เหตุเลิกจ้าง
คำว่า "ทุจริตต่อหน้าที่" ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 123(1) หมายถึง การแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้จากตำแหน่งหน้าที่ เมื่อปรากฏว่าตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือการปฏิบัติของบริษัทนายจ้าง ลูกจ้างประจำรายเดือนลากิจหรือลาป่วยคงได้รับค่าจ้างเช่นเดียวกัน การที่ลูกจ้างมีความจำเป็นที่มาทำงานไม่ได้จึงลาป่วยเพราะไม่อาจลากิจได้เนื่องจากการลากิจต้องลาล่วงหน้า การลาของลูกจ้างจึงเป็นการลาผิดระเบียบไม่ใช่การทุจริตต่อหน้าที่ เพราะลูกจ้างไม่ได้แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายจากค่าจ้างที่ได้รับจากนายจ้างแต่ประการใด
ลูกจ้างหยุดงานเพียง หนึ่งวันครึ่งโดยยื่นใบลาผิดระเบียบยังไม่เป็นการร้ายแรงถึงขนาดที่นายจ้างจะถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้
ลูกจ้างหยุดงานเพียง หนึ่งวันครึ่งโดยยื่นใบลาผิดระเบียบยังไม่เป็นการร้ายแรงถึงขนาดที่นายจ้างจะถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2747/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างต้องมีเหตุอันสมควร แม้ลูกจ้างลาป่วยผิดระเบียบก็ไม่ถือเป็นเหตุทุจริตต่อหน้าที่
คำว่า 'ทุจริตต่อหน้าที่' ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 123(1) หมายถึง การแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้จากตำแหน่งหน้าที่ เมื่อปรากฏว่าตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือการปฏิบัติของบริษัทนายจ้าง ลูกจ้างประจำรายเดือนลากิจหรือลาป่วยคงได้รับค่าจ้างเช่นเดียวกัน การที่ลูกจ้างมีความจำเป็นที่มาทำงานไม่ได้จึงลาป่วยเพราะไม่อาจลากิจได้เนื่องจากการลากิจต้องลาล่วงหน้า การลาของลูกจ้างจึงเป็นการลาผิดระเบียบ ไม่ใช่การทุจริตต่อหน้าที่ เพราะลูกจ้างไม่ได้แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายจากค่าจ้างที่ได้รับจากนายจ้างแต่ประการใด
ลูกจ้างหยุดงานเพียง หนึ่งวันครึ่งโดยยื่นใบลาผิดระเบียบ ยังไม่เป็นการร้ายแรงถึงขนาดที่นายจ้างจะถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้
ลูกจ้างหยุดงานเพียง หนึ่งวันครึ่งโดยยื่นใบลาผิดระเบียบ ยังไม่เป็นการร้ายแรงถึงขนาดที่นายจ้างจะถือเป็นเหตุเลิกจ้างได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2716/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายทรัพย์สินที่ทำให้เจ้าหนี้เสียเปรียบและการรับช่วงสิทธิจำนอง
โจทก์ยอมถอนการยึดทรัพย์พิพาทที่ยึดไว้ชั่วคราวก่อนมีคำพิพากษาก็เพื่อให้จำเลยนำไปขายแก่บุคคลทั่วไป มิได้เจาะจงให้ขายแก่ผู้ร้องเพื่อนำเงินมาชำระแก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และผู้ร้องรู้อยู่ก่อนทำสัญญาซื้อขายทรัพย์พิพาทจากจำเลยว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ การที่จำเลยตกลงขายทรัพย์พิพาทให้ผู้ร้อง โดยโจทก์มิได้ยินยอมให้ผู้ร้องหักหนี้ที่จำเลยเป็นหนี้ผู้ร้องอยู่ก่อนจนเหลือเงินไม่พอชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงเป็นการที่จำเลยได้ขายทรัพย์พิพาทให้ผู้ร้องทั้งรู้อยู่ว่าเป็นทางให้โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบและผู้ร้องได้รู้เท่าถึงความจริงโจทก์ชอบที่จะขอให้เพิกถอนเสียได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 237
การที่ผู้ร้องได้ชำระหนี้ให้ธนาคาร ก. แทนจำเลยเป็นการไถ่ถอนจำนองทรัพย์พิพาทจนเป็นที่พอใจของธนาคาร ก. และธนาคาร ก.ได้จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้จำเลยแล้ว ผู้ร้องย่อมเข้ารับช่วงสิทธิจำนองของธนาคาร ก. ที่มีอยู่เหนือทรัพย์พิพาทในอันที่จะได้รับชำระหนี้จากทรัพย์พิพาทก่อนหนี้รายอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 226, และ 229(2)
แม้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์จะมีประเด็นเพียงว่าผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์เท่านั้น แต่การที่ผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์นั้น ย่อมมีความหมายอยู่ในตัวว่าทำให้โจทก์เสียเปรียบ ศาลย่อมวินิจฉัยถึงปัญหาดังกล่าวได้ ไม่เป็นการนอกประเด็น
การที่ผู้ร้องได้ชำระหนี้ให้ธนาคาร ก. แทนจำเลยเป็นการไถ่ถอนจำนองทรัพย์พิพาทจนเป็นที่พอใจของธนาคาร ก. และธนาคาร ก.ได้จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้จำเลยแล้ว ผู้ร้องย่อมเข้ารับช่วงสิทธิจำนองของธนาคาร ก. ที่มีอยู่เหนือทรัพย์พิพาทในอันที่จะได้รับชำระหนี้จากทรัพย์พิพาทก่อนหนี้รายอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 226, และ 229(2)
แม้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์จะมีประเด็นเพียงว่าผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์เท่านั้น แต่การที่ผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์นั้น ย่อมมีความหมายอยู่ในตัวว่าทำให้โจทก์เสียเปรียบ ศาลย่อมวินิจฉัยถึงปัญหาดังกล่าวได้ ไม่เป็นการนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2716/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายทรัพย์สินโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิขอเพิกถอนได้ และผู้รับช่วงสิทธิจำนอง
โจทก์ยอมถอนการยึดทรัพย์พิพาทที่ยึดไว้ชั่วคราวก่อนมีคำพิพากษา ก็เพื่อให้จำเลยนำไปขายแก่บุคคลทั่วไป มิได้เจาะจงให้ขายแก่ผู้ร้อง เพื่อนำเงินมาชำระแก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และผู้ร้องรู้อยู่ก่อนทำสัญญาซื้อขายทรัพย์พิพาทจากจำเลยว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ตามคำพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ การที่จำเลยตกลงขายทรัพย์พิพาทให้ผู้ร้อง โดยโจทก์มิได้ยินยอมให้ผู้ร้องหักหนี้ที่จำเลยเป็นหนี้ผู้ร้องอยู่ก่อนจนเหลือเงินไม่พอชำระหนี้แก่โจทก์ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ จึงเป็นการที่จำเลยได้ขายทรัพย์พิพาทให้ผู้ร้องทั้งรู้อยู่ว่าเป็นทางให้โจทก์ผู้เป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบและผู้ร้องได้รู้เท่าถึงความจริงโจทก์ชอบที่จะขอให้เพิกถอนเสียได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 237
การที่ผู้ร้องได้ชำระหนี้ให้ธนาคาร ก. แทนจำเลยเป็นการไถ่ถอนจำนองทรัพย์พิพาทจนเป็นที่พอใจของธนาคาร ก. และธนาคาร ก. ได้จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้จำเลยแล้ว ผู้ร้องย่อมเข้ารับช่วงสิทธิจำนองของธนาคาร ก. ที่มีอยู่เหนือทรัพย์พิพาทในอันที่จะได้รับชำระหนี้จากทรัพย์พิพาทก่อนหนี้รายอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 226, และ 229(2)
แม้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์จะมีประเด็นเพียงว่าผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์เท่านั้น แต่การที่ผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์นั้น ย่อมมีความหมายอยู่ในตัวว่าทำให้โจทก์เสียเปรียบ. ศาลย่อมวินิจฉัยถึงปัญหาดังกล่าวได้ ไม่เป็นการนอกประเด็น
การที่ผู้ร้องได้ชำระหนี้ให้ธนาคาร ก. แทนจำเลยเป็นการไถ่ถอนจำนองทรัพย์พิพาทจนเป็นที่พอใจของธนาคาร ก. และธนาคาร ก. ได้จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้จำเลยแล้ว ผู้ร้องย่อมเข้ารับช่วงสิทธิจำนองของธนาคาร ก. ที่มีอยู่เหนือทรัพย์พิพาทในอันที่จะได้รับชำระหนี้จากทรัพย์พิพาทก่อนหนี้รายอื่นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 226, และ 229(2)
แม้ตามคำร้องและคำให้การของโจทก์จะมีประเด็นเพียงว่าผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์เท่านั้น แต่การที่ผู้ร้องและจำเลยสมคบกันโอนทรัพย์พิพาทให้พ้นจากการถูกยึดขายทอดตลาดชำระหนี้ให้โจทก์นั้น ย่อมมีความหมายอยู่ในตัวว่าทำให้โจทก์เสียเปรียบ. ศาลย่อมวินิจฉัยถึงปัญหาดังกล่าวได้ ไม่เป็นการนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2713/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับผิดร่วมกันในคดีแพ่งจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยจำกัดขอบเขตความรับผิดของเจ้าของรถ
ศาลฟังข้อเท็จจริงในคดีแพ่งตามคำพิพากษาส่วนอาญาที่ลงโทษจำเลยว่า จำเลยที่ 2 ขับรถยนต์โดยประมาททำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บสาหัสแต่จะใช้ฟังยันจำเลยที่ 1 เจ้าของรถยนต์ด้วยไม่ได้ เพราะจำเลยที่ 1 มิได้เป็นคู่ความในคดีอาญาดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2601/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความหนี้ซื้อขายวัตถุดิบในอุตสาหกรรมกระเบื้อง: 5 ปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 165 วรรคท้าย
บริษัท ท. มีวัตถุประสงค์ขายวัตถุดิบจำพวก หิน ดิน และทรายที่นำไปใช้ในกิจการอุตสาหกรรมผลิตกระเบื้องเคลือบและกระเบื้องดินเผา ส่วนบริษัทจำเลยประกอบกิจการผลิตกระเบื้องเคลือบและกระเบื้องดินเผาหนี้ค่าสินค้าที่บริษัท ท. ขายให้แก่บริษัทจำเลยซึ่งโจทก์ได้รับโอนสิทธิเรียกร้องมา คือ หิน ดิน และทรายที่บริษัทจำเลยนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตที่ได้ทำเพื่ออุตสาหกรรมของบริษัทจำเลยเอง ดังนั้น สิทธิเรียกร้องในค่าสินค้าดังกล่าวจึงมีอายุความ 5 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165 วรรคท้าย