พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,707 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1158/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างเนื่องจากประมาทเลินเล่อจนเกิดความเสียหาย และสิทธิในการรับโบนัส
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยได้ปฏิบัติหน้าที่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้จำเลยเสียหาย ไม่ว่าการที่โจทก์ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับนั้นจะต้องด้วยระเบียบว่าด้วยวินัยส่วนใดและมีโทษเป็นประการใดจำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าวได้ ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
จำเลยมีระเบียบการจ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างที่มีความดีความชอบปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียรเป็นประโยชน์แก่จำเลย ไม่เป็นผู้ที่ได้รับการลงโทษจากจำเลยไม่ว่าสถานใดสถานหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยสูญหาย โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับโบนัสตามระเบียบ และการที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวในระหว่างวันที่ 21 - 25 กุมภาพันธ์ 2529 แต่จำเลยเพิ่งออกคำสั่งลงโทษไล่โจทก์ออกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2530 เพราะต้องใช้เวลาสอบสวนความจริง ก็ถือได้ว่าโจทก์ทำผิดระเบียบข้อบังคับของจำเลยระหว่างวันที่ 21 - 25 กุมภาพันธ์ 2529 โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับโทษจากจำเลยตามระเบียบการจ่ายโบนัสดังกล่าวแล้วตั้งแต่วันที่โจทก์กระทำผิด นับแต่นั้นมาจำเลยย่อมไม่ต้องจ่ายโบนัสให้โจทก์
จำเลยมีระเบียบการจ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างที่มีความดีความชอบปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียรเป็นประโยชน์แก่จำเลย ไม่เป็นผู้ที่ได้รับการลงโทษจากจำเลยไม่ว่าสถานใดสถานหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยสูญหาย โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับโบนัสตามระเบียบ และการที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวในระหว่างวันที่ 21 - 25 กุมภาพันธ์ 2529 แต่จำเลยเพิ่งออกคำสั่งลงโทษไล่โจทก์ออกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2530 เพราะต้องใช้เวลาสอบสวนความจริง ก็ถือได้ว่าโจทก์ทำผิดระเบียบข้อบังคับของจำเลยระหว่างวันที่ 21 - 25 กุมภาพันธ์ 2529 โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับโทษจากจำเลยตามระเบียบการจ่ายโบนัสดังกล่าวแล้วตั้งแต่วันที่โจทก์กระทำผิด นับแต่นั้นมาจำเลยย่อมไม่ต้องจ่ายโบนัสให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1158/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างลูกจ้างที่กระทำโดยมีเหตุอันสมควรจากความประมาทเลินเล่อ และสิทธิในการได้รับโบนัส
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยได้ปฏิบัติหน้าที่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้จำเลยเสียหาย ไม่ว่าการที่โจทก์ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับนั้นจะต้องด้วยระเบียบว่าด้วยวินัยส่วนใดและมีโทษเป็นประการใดจำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าวได้ ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม
จำเลยมีระเบียบการจ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างที่มีความดีความชอบปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียรเป็นประโยชน์แก่จำเลย ไม่เป็นผู้ที่ได้รับการลงโทษจากจำเลยไม่ว่าสถานใดสถานหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยสูญหาย โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับโบนัสตามระเบียบ และการที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวในระหว่างวันที่21-25 กุมภาพันธ์ 2529 แต่จำเลยเพิ่งออกคำสั่งลงโทษไล่โจทก์ออกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2530 เพราะต้องใช้เวลาสอบสวนความจริง ก็ถือได้ว่าโจทก์ทำผิดระเบียบข้อบังคับของจำเลยระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2529 โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับโทษจากจำเลยตามระเบียบการจ่ายโบนัสดังกล่าวแล้วตั้งแต่วันที่โจทก์กระทำผิด นับแต่นั้นมาจำเลยย่อมไม่ต้องจ่ายโบนัสให้โจทก์.
จำเลยมีระเบียบการจ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างที่มีความดีความชอบปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียรเป็นประโยชน์แก่จำเลย ไม่เป็นผู้ที่ได้รับการลงโทษจากจำเลยไม่ว่าสถานใดสถานหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยสูญหาย โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับโบนัสตามระเบียบ และการที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวในระหว่างวันที่21-25 กุมภาพันธ์ 2529 แต่จำเลยเพิ่งออกคำสั่งลงโทษไล่โจทก์ออกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2530 เพราะต้องใช้เวลาสอบสวนความจริง ก็ถือได้ว่าโจทก์ทำผิดระเบียบข้อบังคับของจำเลยระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2529 โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับโทษจากจำเลยตามระเบียบการจ่ายโบนัสดังกล่าวแล้วตั้งแต่วันที่โจทก์กระทำผิด นับแต่นั้นมาจำเลยย่อมไม่ต้องจ่ายโบนัสให้โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1158/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม กรณีลูกจ้างประมาทเลินเล่อทำให้เกิดความเสียหาย และสิทธิในการรับเงินโบนัส
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยได้ปฏิบัติหน้าที่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเป็นเหตุให้จำเลยเสียหายไม่ว่าการที่โจทก์ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับนั้นจะต้องด้วยระเบียบว่าด้วยวินัยส่วนใดและมีโทษเป็นประการใด จำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์เพราะเหตุดังกล่าวได้ไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม จำเลยมีระเบียบการจ่ายเงินโบนัสแก่ลูกจ้างที่มีความดีความชอบ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียรเป็นประโยชน์แก่จำเลยไม่เป็น ผู้ได้รับการลงโทษจากจำเลยไม่ว่าสถานใดสถานหนึ่ง เมื่อโจทก์ปฏิบัติ หน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับและประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของจำเลยสูญหาย โจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับโบนัสตามระเบียบ และการที่โจทก์ปฏิบัติหน้าที่โดยฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวในระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2529 แต่จำเลยเพิ่งออกคำสั่งลงโทษไล่โจทก์ออกเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2530 เพราะต้องใช้เวลาสอบสวนความจริง ก็ถือได้ว่าโจทก์ทำผิดระเบียบข้อบังคับของจำเลยระหว่างวันที่ 21-25 กุมภาพันธ์ 2529 โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับโทษจากจำเลยตามระเบียบการจ่ายโบนัสดังกล่าวแล้วตั้งแต่วันที่โจทก์กระทำผิด นับแต่นั้นมาจำเลยย่อมไม่ต้องจ่ายโบนัสให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1102/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแลกเปลี่ยนเวรงานและลงเวลาทำงาน: ไม่ถือเป็นการทุจริตหรือละทิ้งหน้าที่หากมีสิทธิได้รับค่าจ้าง
โจทก์เป็นยามรักษาความปลอดภัยของจำเลยมิได้เข้าเวรตามวันเวลาที่กำหนด แต่โจทก์ได้ตกลงแลกเปลี่ยนเวรกับผู้อื่นแล้ว และโจทก์ลงเวลาทำงานเป็นหลักฐานเพื่อเบิกค่าจ้างก็โดยเข้าใจว่าตนมีสิทธิจะได้รับค่าจ้างดังนี้ การกระทำของโจทก์ยังไม่ถึงกับเป็นการละทิ้งหน้าที่และลงเวลาทำงานอันเป็นเท็จโดยทุจริต ไม่เป็นการกระทำผิดร้ายแรง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47 (3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1102/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแลกเปลี่ยนเวรยามและการลงเวลาทำงาน: การกระทำไม่ถึงขั้นเป็นการทุจริตและร้ายแรง
โจทก์เป็นยามรักษาความปลอดภัยของจำเลยมิได้เข้าเวรตามวันเวลาที่กำหนด แต่โจทก์ได้ตกลงแลกเปลี่ยนเวรกับผู้อื่นแล้ว และโจทก์ลงเวลาทำงานเป็นหลักฐานเพื่อเบิกค่าจ้างก็โดยเข้าใจว่าตนมีสิทธิจะได้รับค่าจ้างดังนี้ การกระทำของโจทก์ยังไม่ถึงกับเป็นการละทิ้งหน้าที่และลงเวลาทำงานอันเป็นเท็จโดยทุจริต ไม่เป็นการกระทำผิดร้ายแรง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47(3).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1102/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแลกเปลี่ยนเวรและลงเวลาทำงาน: ไม่ถือเป็นการละทิ้งหน้าที่หรือทุจริต
โจทก์เป็นยามรักษาความปลอดภัยของจำเลยมิได้เข้าเวรตามวัน เวลาที่กำหนด แต่โจทก์ได้ตกลงแลกเปลี่ยนเวรกับผู้อื่นแล้ว และโจทก์ลงเวลาทำงานเป็นหลักฐานเพื่อเบิกค่าจ้างก็โดยเข้าใจว่าตน มีสิทธิจะได้รับค่าจ้างดังนี้ การกระทำของโจทก์ยังไม่ถึงกับเป็นการละทิ้งหน้าที่และลงเวลาทำงานเป็นหลักฐานเพื่อเบิกค่าจ้างก็โดยเข้าใจว่าตนมีสิทธิจะได้ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 47(3)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1072/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิลาป่วย ลากิจ และการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม การตีความข้อบังคับของบริษัท
ข้อบังคับของจำเลยกำหนดให้พนักงานประจำรายวันมีสิทธิลาป่วยในปีหนึ่งได้ไม่เกิน 30 วัน พนักงานประจำรายวันที่เป็นหญิงมีสิทธิลาป่วยเกี่ยวกับการคลอดบุตรได้ไม่เกิน 45 วัน หรือพนักงานประจำรายวันมีสิทธิลากิจส่วนตัวได้ไม่เกิน 20 วันนั้นเป็นกรณีที่แบ่งแยกสิทธิในการลาหยุดงานแต่ละประเภทไว้ต่างหากจากกัน โดยลูกจ้างมีสิทธิลาหยุดงานในแต่ละประเภทได้ไม่เกินจำนวนที่กำหนดมิได้หมายความว่าลูกจ้างจะมีสิทธิลาหยุดงานผิดประเภทได้หรือลาหยุดงานประเภทใดเป็นเวลานานมากน้อยเท่าใดก็ได้เพียงแต่วันลาต้องไม่เกินยอดรวมของวันลาตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ
การที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะโจทก์ลาป่วยเกินกำหนด โดยจำเลยได้บอกกล่าวตักเตือนเป็นหนังสือล่วงหน้าก่อนแล้วว่า หากโจทก์ลาป่วยเกินกำหนดอาจถูกพิจารณาเลิกจ้างนั้น เป็นคำสั่งที่มีเหตุสมควร และมิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม.
การที่จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะโจทก์ลาป่วยเกินกำหนด โดยจำเลยได้บอกกล่าวตักเตือนเป็นหนังสือล่วงหน้าก่อนแล้วว่า หากโจทก์ลาป่วยเกินกำหนดอาจถูกพิจารณาเลิกจ้างนั้น เป็นคำสั่งที่มีเหตุสมควร และมิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1071/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิค่าจ้างหลังประนีประนอมยอมความเลิกจ้าง: ศาลตัดสินตามคำขอเดิมของจำเลย
จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยให้มีผลตั้งแต่วันยื่นคำร้องคือวันที่ 20มกราคม 2530 ก่อนโจทก์ยื่นคำคัดค้านจำเลยยื่นคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาเป็นกรณีฉุกเฉิน ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตโดยให้จำเลยนำเงินค่าจ้างไปวางศาลเมื่อคดีถึงที่สุดโดยศาลแรงงานกลางอนุญาตให้เลิกจ้างโจทก์ได้ก็ให้จำเลยขอรับเงินค่าจ้างคืนไป แต่ถ้าไม่อนุญาตให้เลิกจ้างก็ให้โจทก์รับเงินค่าจ้างไปได้ แสดงว่าจำเลยประสงค์เลิกจ้างโจทก์ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530 การที่ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยจำเลยยอมจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่โจทก์จำนวนหนึ่งโดยให้โจทก์ไปขอรับจากศาลแรงงานกลางตามที่จำเลยได้วางไว้ ส่วนที่เหลือให้จำเลยรับคืนไป และโจทก์ไม่ติดใจในเรื่องเลิกจ้างไม่เป็นธรรมค่าเสียหายและค่าชดเชยเกี่ยวกับการเลิกจ้าง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ตามที่ตกลงกันแต่ข้อตกลงไม่แจ้งชัดว่าจะให้เลิกจ้างเมื่อใด เช่นนี้คำสั่งอนุญาตให้เลิกจ้างดังกล่าวย่อมเป็นไปตามคำขอของจำเลยโดยจำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ได้ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1071/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเลิกจ้างย้อนหลังตามสัญญาประนีประนอมยอมความ: สิทธิค่าจ้างและความชอบธรรมในการเลิกจ้าง
จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยให้มีผลตั้งแต่วันยื่นคำร้องคือวันที่ 20มกราคม 2530 ก่อนโจทก์ยื่นคำคัดค้านจำเลยยื่นคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาเป็นกรณีฉุกเฉิน ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตโดยให้จำเลยนำเงินค่าจ้างไปวางศาลเมื่อคดีถึงที่สุดโดยศาลแรงงานกลางอนุญาตให้เลิกจ้างโจทก์ได้ก็ให้จำเลยขอรับเงินค่าจ้างคืนไป แต่ถ้าไม่อนุญาตให้เลิกจ้างก็ให้โจทก์รับเงินค่าจ้างไปได้ แสดงว่าจำเลยประสงค์เลิกจ้างโจทก์ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530 การที่ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยจำเลยยอมจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่โจทก์จำนวนหนึ่งโดยให้โจทก์ไปขอรับจากศาลแรงงานกลางตามที่จำเลยได้วางไว้ ส่วนที่เหลือให้จำเลยรับคืนไป และโจทก์ไม่ติดใจในเรื่องเลิกจ้างไม่เป็นธรรมค่าเสียหายและค่าชดเชยเกี่ยวกับการเลิกจ้าง ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ตามที่ตกลงกันแต่ข้อตกลงไม่แจ้งชัดว่าจะให้เลิกจ้างเมื่อใด เช่นนี้คำสั่งอนุญาตให้เลิกจ้างดังกล่าวย่อมเป็นไปตามคำขอของจำเลยโดยจำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ได้ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1071/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิค่าจ้างจากการเลิกจ้าง: ศาลฎีกาวินิจฉัยตามคำขอเดิมของจำเลยที่ยื่นก่อนทำสัญญาประนีประนอม
จำเลยยื่นคำร้องขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างโดยให้มีผลตั้งแต่วันยื่นคำร้องคือวันที่ 20 มกราคม 2530ก่อนโจทก์ยื่นคำคัดค้าน จำเลยยื่นคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษาเป็นกรณีฉุกเฉิน ศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตโดยให้จำเลยนำเงินค่าจ้างไปวางศาล เมื่อคดีถึงที่สุดโดยศาลแรงงานกลางอนุญาตให้เลิกจ้างโจทก์ได้ ก็ให้จำเลยขอรับค่าจ้างคืนไป แต่ถ้าไม่อนุญาตให้เลิกจ้าง ก็ให้โจทก์รับเงินค่าจ้างไปได้ แสดงว่าจำเลยประสงค์เลิกจ้างโจทก์ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530 การที่ต่อมาโจทก์จำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความโดยจำเลยยอมจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่โจทก์จำนวนหนึ่งโดยให้โจทก์ไปขอรับจากศาลแรงงานกลางตามที่จำเลยได้วางไว้ ส่วนที่เหลือให้จำเลยรับคืนไปและโจทก์ไม่ติดใจในเรื่องเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ค่าเสียหายและค่าชดเชยเกี่ยวกับการเลิกจ้างศาลแรงงานกลางมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ได้ตามที่ตกลงกันแต่ข้อตกลงไม่แจ้งชัดว่าจะให้เลิกจ้างเมื่อใด เช่นนี้คำสั่งอนุญาตให้เลิกจ้างดังกล่าวย่อมเป็นไปตามคำขอของจำเลย โดยจำเลยมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์ได้ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2530