พบผลลัพธ์ทั้งหมด 883 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2564/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการเรียกประชุมผู้ถือหุ้นและการเพิกถอนมติ การไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนไม่ทำให้มติเป็นโมฆะ
คำว่า "กรรมการ" ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1172 วรรคแรก หมายถึง คณะกรรมการ มิได้หมายถึงกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคน เมื่อกรรมการคนใดเห็นควรจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นก็ชอบที่จะนัดเรียกประชุมกรรมการเพื่อพิจารณากันเสียก่อนและมติของกรรมการจะต้องถือเอาเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เมื่อผู้คัดค้านเรียกประชุมใหญ่วิสามัญโดยมิได้กระทำตามขั้นตอนดังกล่าวการนัดเรียกประชุมใหญ่ตลอดจนการประชุมและการลงมติจึงเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท แต่ก็หาทำให้การประชุมใหญ่และการลงมติที่ได้เกิดขึ้นจริงไม่เป็นการประชุมใหญ่และการลงมติตามกฎหมายไม่ ดังนั้น การร้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ดังกล่าวจึงต้องร้องขอภายในกำหนด1 เดือน นับแต่วันลงมติ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2564/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียกประชุมผู้ถือหุ้นโดยไม่ถูกต้องตามขั้นตอน ทำให้การเพิกถอนมติต้องกระทำภายใน 1 เดือน
คำว่า "กรรมการ" ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1172 วรรคแรก หมายถึงคณะกรรมการมิได้หมายถึงกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนเมื่อกรรมการคนใดเห็นควรจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นก็ชอบที่จะนัดเรียกประชุมกรรมการเพื่อพิจารณา กันเสียก่อนและมติของกรรมการจะต้องถือเอาเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เมื่อผู้คัดค้านเรียกประชุมใหญ่วิสามัญโดยมิได้กระทำตามขั้นตอนดังกล่าว การนัดเรียกประชุมใหญ่ตลอดจนการประชุมและการลงมติจึงเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ.ลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท แต่ก็หาทำให้การประชุมใหญ่และการลงมติที่ได้เกิดขึ้นจริงไม่เป็นการประชุมใหญ่และการลงมติตามกฎหมายไม่ ดังนั้น การร้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ดังกล่าวจึงต้องร้องขอภายในกำหนด 1 เดือนนับแต่วันลงมติตามมาตรา 1195.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2564/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการเรียกประชุมผู้ถือหุ้นและผลของการไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนตามกฎหมายบริษัท
คำว่า "กรรมการ" ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1172 วรรคแรก หมายถึง คณะกรรมการ มิได้หมายถึงกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคน เมื่อกรรมการคนใดเห็นควรจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นก็ชอบที่จะนัดเรียกประชุมกรรมการเพื่อพิจารณากันเสียก่อนและมติของกรรมการจะต้องถือเอาเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เมื่อผู้คัดค้านเรียกประชุมใหญ่วิสามัญโดยมิได้กระทำตามขั้นตอนดังกล่าวการนัดเรียกประชุมใหญ่ตลอดจนการประชุมและการลงมติจึงเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท แต่ก็หาทำให้การประชุมใหญ่และการลงมติที่ได้เกิดขึ้นจริงไม่เป็นการประชุมใหญ่และการลงมติตามกฎหมายไม่ ดังนั้น การร้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ดังกล่าวจึงต้องร้องขอภายในกำหนด1 เดือน นับแต่วันลงมติ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2564/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียกประชุมผู้ถือหุ้นต้องเป็นไปตามขั้นตอนกฎหมาย หากไม่เป็นไปตามขั้นตอน ศาลเพิกถอนมติได้ภายใน 1 เดือน
คำว่า "กรรมการ" ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1172 วรรคแรก หมายถึง คณะกรรมการ มิได้หมายถึงกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคน เมื่อกรรมการคนใดเห็นควรจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นก็ชอบที่จะนัดเรียกประชุมกรรมการเพื่อพิจารณากันเสียก่อน และมติของกรรมการจะต้องถือเอาเสียงข้างมากเป็นใหญ่ เมื่อผู้คัดค้านเรียกประชุมใหญ่วิสามัญโดยมิได้กระทำตามขั้นตอนดังกล่าว การนัดเรียกประชุมใหญ่ตลอดจนการประชุมและการลงมติจึงเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท แต่ก็หาทำให้การประชุมใหญ่และการลงมติที่ได้เกิดขึ้นจริงไม่เป็นการประชุมใหญ่และการลงมติตามกฎหมายไม่ ดังนั้น การร้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่ดังกล่าวจึงต้องร้องขอภายในกำหนด 1 เดือน นับแต่วันลงมติตามมาตรา 1195
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2563/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ถือเป็นการแต่งตั้งตามตำแหน่งราชการ ไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัว
ข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งศาลได้มีคำพิพากษาตามยอมแล้ว ข้อ (1) ระบุว่าโจทก์และจำเลยทั้งสองยินยอมตั้งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6 (จังหวัด พิษณุโลก ) เป็นผู้ชำระบัญชี ซึ่งขณะนั้น ม.ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6 ม. จึงเป็นผู้ชำระบัญชีโดยตำแหน่งราชการไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัว เมื่อ ม. ย้ายไปรับราชการที่อื่นและ จ. ย้ายมาดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6 แทน จ. ก็ย่อมเป็นผู้ชำระบัญชีในคดีนี้ต่อไปได้ การที่ศาลแต่งตั้ง จ. เป็นผู้ชำระบัญชีคนใหม่แทน ม. ผู้ชำระบัญชีคนเดิม จึงไม่เป็นการผิดวัตถุประสงค์เดิมของโจทก์และจำเลย ทั้งไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาตามยอมของคู่ความ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2563/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีตามสัญญาประนีประนอมยอมความ การเปลี่ยนตัวผู้ชำระบัญชีเนื่องจากตำแหน่งไม่ใช่การเฉพาะตัว
ข้อความในสัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งศาลได้มีคำพิพากษาตามยอมแล้ว ข้อ (1) ระบุว่าโจทก์และจำเลยทั้งสองยินยอมตั้งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6(จังหวัด พิษณุโลก ) เป็นผู้ชำระบัญชี ซึ่งขณะนั้น ม.ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6 ม. จึงเป็นผู้ชำระบัญชีโดยตำแหน่งราชการไม่ใช่เป็นการเฉพาะตัว เมื่อ ม. ย้ายไปรับราชการที่อื่นและ จ. ย้ายมาดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สำนักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ภูมิภาคที่ 6 แทน จ. ก็ย่อมเป็นผู้ชำระบัญชีในคดีนี้ต่อไปได้ การที่ศาลแต่งตั้ง จ. เป็นผู้ชำระบัญชีคนใหม่แทน ม. ผู้ชำระบัญชีคนเดิม จึงไม่เป็นการผิดวัตถุประสงค์เดิมของโจทก์และจำเลย ทั้งไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาตามยอมของคู่ความ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2558/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์, ค่าปลงศพ, ค่าอุปการะเลี้ยงดู, และการคุ้มครองแรงงาน
โจทก์เป็นสามีของผู้ตาย ไม่ปรากฏว่ามีพินัยกรรมเป็นอย่างอื่นโจทก์จึงเป็นผู้ได้รับทรัพย์มรดกโดยสิทธิทายาทโดยธรรมของผู้ตายเป็นจำนวนมากที่สุด เป็นผู้มีอำนาจและมีหน้าที่ต้องจัดการทำศพผู้ตายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1649 โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าปลงศพภริยาโจทก์ได้ แม้บิดาโจทก์จะได้ออกเงินให้โจทก์ใช้จ่ายในการทำศพ จำเลยก็จะมายกเป็นข้อปัดป้องความรับผิดของจำเลยหาไม่ได้ ลูกจ้างประสบอันตรายถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานและอธิบดีกรมแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าทดแทนให้แก่มารดาสามี และบุตร เป็นการจ่ายเงินเพื่อการคุ้มครองแรงงาน ไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด โจทก์ซึ่งเป็นสามีของลูกจ้างผู้ตาย ยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื่องละเมิดได้ ในตอนต้นของคำฟ้องโจทก์มีชื่อโจทก์เพียงผู้เดียว แต่โจทก์เป็นบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง จ. และปรากฏในคำฟ้องว่าโจทก์กับนาง ส. ผู้ตายมีบุตรด้วยกันคือ เด็กหญิง จ. ทั้งโจทก์เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูไว้เป็นจำนวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วยแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2558/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากอุบัติเหตุทางรถยนต์, ค่าปลงศพ, ค่าอุปการะเลี้ยงดู, และการฟ้องแทนผู้เยาว์
โจทก์เป็นสามีของผู้ตาย ไม่ปรากฏว่ามีพินัยกรรมเป็นอย่างอื่น โจทก์จึงเป็นผู้ได้รับทรัพย์มรดกโดยสิทธิทายาทโดยธรรมของผู้ตายเป็นจำนวนมากที่สุด เป็นผู้มีอำนาจและมีหน้าที่ต้องจัดการทำศพผู้ตายตาม ป.พ.พ.มาตรา 1649 โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าปลงศพภริยาโจทก์ก็ได้ แม้บิดาโจทก์จะได้ออกเงินให้โจทก์ใช้จ่ายในการทำศพ จำเลยก็จะมายกเป็นข้อปัดป้องความรับผิดของจำเลยหาได้ไม่.
ลูกจ้างประสบอันตรายถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานและอธิบดีกรมแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าทดแทนให้แก่มารดา สามี และบุตร เป็นการจ่ายเงินเพื่อการคุ้มครองแรงงานไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด โจทก์ซึ่งเป็นสามีของลูกจ้างผู้ตายยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื่องละเมิดได้.
ในตอนต้นของคำฟ้องโจทก์มีชื่อโจทก์เพียงผู้เดียว แต่โจทก์เป็นบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง จ. และปรากฏในคำฟ้องว่า โจทก์กับนาง ส.ผู้ตายมีบุตรด้วยกันคือ เด็กหญิง จ. ทั้งโจทก์เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูไว้เป็นจำนวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วยแล้ว.
ลูกจ้างประสบอันตรายถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานและอธิบดีกรมแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าทดแทนให้แก่มารดา สามี และบุตร เป็นการจ่ายเงินเพื่อการคุ้มครองแรงงานไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด โจทก์ซึ่งเป็นสามีของลูกจ้างผู้ตายยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื่องละเมิดได้.
ในตอนต้นของคำฟ้องโจทก์มีชื่อโจทก์เพียงผู้เดียว แต่โจทก์เป็นบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง จ. และปรากฏในคำฟ้องว่า โจทก์กับนาง ส.ผู้ตายมีบุตรด้วยกันคือ เด็กหญิง จ. ทั้งโจทก์เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูไว้เป็นจำนวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วยแล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2558/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์, ค่าปลงศพ, ค่าอุปการะเลี้ยงดู, และการคุ้มครองแรงงาน
โจทก์เป็นสามีของผู้ตาย ไม่ปรากฏว่ามีพินัยกรรมเป็นอย่างอื่นโจทก์จึงเป็นผู้ได้รับทรัพย์มรดกโดยสิทธิทายาทโดยธรรมของผู้ตายเป็นจำนวนมากที่สุด เป็นผู้มีอำนาจและมีหน้าที่ต้องจัดการทำศพผู้ตายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1649 โจทก์จึงมีสิทธิที่จะเรียกร้องให้จำเลยใช้ค่าปลงศพภริยาโจทก์ได้ แม้บิดาโจทก์จะได้ออกเงินให้โจทก์ใช้จ่ายในการทำศพ จำเลยก็จะมายกเป็นข้อปัดป้องความรับผิดของจำเลยหาไม่ได้
ลูกจ้างประสบอันตรายถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานและอธิบดีกรมแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าทดแทนให้แก่มารดาสามี และบุตร เป็นการจ่ายเงินเพื่อการคุ้มครองแรงงาน ไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด โจทก์ซึ่งเป็นสามีของลูกจ้างผู้ตาย ยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื่องละเมิดได้
ในตอนต้นของคำฟ้องโจทก์มีชื่อโจทก์เพียงผู้เดียว แต่โจทก์เป็นบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง จ. และปรากฏในคำฟ้องว่าโจทก์กับนาง ส. ผู้ตายมีบุตรด้วยกันคือ เด็กหญิง จ. ทั้งโจทก์เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูไว้เป็นจำนวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วยแล้ว
ลูกจ้างประสบอันตรายถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงานและอธิบดีกรมแรงงานมีคำสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าทดแทนให้แก่มารดาสามี และบุตร เป็นการจ่ายเงินเพื่อการคุ้มครองแรงงาน ไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิด โจทก์ซึ่งเป็นสามีของลูกจ้างผู้ตาย ยังคงมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเรื่องละเมิดได้
ในตอนต้นของคำฟ้องโจทก์มีชื่อโจทก์เพียงผู้เดียว แต่โจทก์เป็นบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองและเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของเด็กหญิง จ. และปรากฏในคำฟ้องว่าโจทก์กับนาง ส. ผู้ตายมีบุตรด้วยกันคือ เด็กหญิง จ. ทั้งโจทก์เรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูไว้เป็นจำนวนเงินชัดเจน ถือได้ว่าโจทก์ได้ฟ้องคดีในฐานะบิดาผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ด้วยแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2520/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขอพิจารณาใหม่นอกระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด เหตุสุดวิสัยต้องระบุชัดเจน
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 วรรคแรก กำหนดระยะเวลาแก่คู่ความในการใช้สิทธิขอให้พิจารณาใหม่ไว้เป็น2 ประการ กล่าวคือ ประการแรก จะต้องยื่นคำขอต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งให้แก่จำเลยแต่ถ้าศาลได้กำหนดการอย่างใด ๆ เพื่อส่งคำบังคับโดยวิธีส่งหมายธรรมดาหรือโดยวิธีอื่นแทน ก็ให้นับแต่เมื่อการส่งคำบังคับมีผลใช้ได้ และประการหลังหากมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้จนเป็นเหตุให้คู่ความฝ่ายที่ขาดนัดไม่อาจยื่นคำขอภายในเวลาที่กำหนดไว้ในประการแรกแล้ว คู่ความฝ่ายนั้นมีสิทธิยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่พฤติการณ์นั้นได้สิ้นสุดลง ส่วนข้อความตอนท้ายของบทบัญญัติดังกล่าวซึ่งห้ามมิให้ยื่นคำขอเมื่อพ้นกำหนด6 เดือน นับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือได้มีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งโดยวิธีอื่น มีความหมายว่า ห้ามมิให้ยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่เมื่อพ้นหกเดือนนับแต่วันที่ได้ยึดทรัพย์หรือมีการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งโดยวิธีอื่น แม้จะมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้จนทำให้การยื่นคำขอต้องล่าช้าเกิน 6 เดือนก็ตาม จำเลยที่ 3 ยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ล่าช้าเกิน 15 วันนับจากวันที่ได้ส่งคำบังคับ โดยมีพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้แต่คำขอนั้นมิได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งถึงเหตุแห่งการยื่นคำขอล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 208 วรรคแรก ซึ่งวรรคสองของมาตรา 208 บังคับให้ต้องกล่าวแม้เป็นชั้นตรวจคำขอ ศาลก็ชอบที่จะสั่งยกคำขอให้พิจารณาใหม่ได้