คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
บุญส่ง คล้ายแก้ว

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 883 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2441/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอระบุพยานเพิ่มเติมต้องเกี่ยวข้องกับประเด็นข้อพิพาท แม้เป็นเรื่องความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องแม้จะเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือไม่ก็ตาม เมื่อไม่เกี่ยวกับประเด็นข้อพิพาทแห่งคดีการที่จำเลยขอระบุพยานเพิ่มเติมอ้างว่าเพิ่งทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของโจทก์จึงเป็นการขอระบุพยานที่ไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่คู่ความจะต้องนำสืบ ศาลชอบที่จะสั่งไม่รับบัญชีระบุพยานดังกล่าว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2441/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอสืบพยานเพิ่มเติมเกี่ยวกับอำนาจฟ้องที่ไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นข้อพิพาท ศาลชอบที่จะไม่อนุญาต
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องแม้จะเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือไม่ก็ตาม เมื่อไม่เกี่ยวกับประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี การที่จำเลยขอระบุพยานเพิ่มเติมอ้างว่าเพิ่งทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของโจทก์จึงเป็นการขอระบุพยานที่ไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่คู่ความจะต้องนำสืบ ศาลชอบที่จะสั่งไม่รับบัญชีระบุพยานดังกล่าว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2441/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การขอเพิ่มพยานนอกประเด็นคดี แม้เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ศาลไม่จำเป็นต้องอนุญาต หากไม่เกี่ยวข้องกับประเด็นข้อพิพาท
ปัญหาเรื่องอำนาจฟ้องแม้จะเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือไม่ก็ตาม เมื่อไม่เกี่ยวกับประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี การที่จำเลยขอระบุพยานเพิ่มเติมอ้างว่าเพิ่งทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของโจทก์จึงเป็นการขอระบุพยานที่ไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่คู่ความจะต้องนำสืบ ศาลชอบที่จะสั่งไม่รับบัญชีระบุพยานดังกล่าว

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2405/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การทำร้ายร่างกายและการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ศาลฎีกายืนยกฟ้องจำเลยที่ 3 ผู้ถูกทำร้ายและปรับบทจำเลยที่ 1-2
จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 มีปากเสียงด่าโต้ตอบกันแล้วต่างหยุดไปต่อมาจำเลยที่ 3 เดินออกจากแผงร้านค้าของตนไปโทรศัพท์ที่แผงร้านค้าของ อ.และพูดคุยกับอ. เป็นเวลานานโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 3 มีความโกรธแค้นจำเลยที่ 1 ขั้นตอนการสมัครใจทะเลาะวิวาทจึงยุติลงแล้ว การที่จำเลยที่ 1 ร่วมกับจำเลยที่ 2ผู้เป็นบุตรทำร้ายร่างกายจำเลยที่ 3 หลังจากจำเลยที่ 3 กลับจากการโทรศัพท์ที่แผงร้านค้าของ อ. จนเป็นเหตุให้จำเลยที่ 3 ได้รับอันตรายสาหัส ย่อมเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297และไม่เป็นการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามมาตรา 69 จำเลยที่ 1 และที่ 2 ร่วมกันทำร้ายจำเลยที่ 3 ก่อนจนถึงขั้นบาดเจ็บสาหัส การที่จำเลยที่ 3 ตอบโต้ไปบ้างแม้ทำให้จำเลยที่ 1และที่ 2 ได้รับอันตรายแก่กายก็เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 จำเลยที่ 3 จึงไม่มีความผิด โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 และที่ 2 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 297 ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดตามมาตรา 297ประกอบด้วยมาตรา 69 จำเลยที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 391 แม้ปัญหานี้จะยุติในศาลชั้นต้น เพราะทั้งโจทก์และจำเลยที่ 1 และที่ 2 มิได้อุทธรณ์ แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2 เป็นความผิดตามมาตรา 297 ศาลฎีกามีอำนาจปรับบทลงโทษให้ถูกต้องได้โดยไม่มีการเพิ่มโทษ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2405/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การทำร้ายร่างกาย: การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายและการพิสูจน์ฝ่ายลงมือก่อน
จำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 3 มีปากเสียงด่าโต้ตอบกันแล้วต่างหยุดไป ต่อมาจำเลยที่ 3 เดินออกจากแผงร้านค้าของตนไปโทรศัพท์ที่แผงร้านค้าของ อ.และพูดคุยกับอ.เป็นเวลานานโดยไม่ปรากฏว่าจำเลยที่ 3 มีความโกรธแค้นจำเลยที่ 1 ขั้นตอนการสมัครใจทะเลาะวิวาทจึงยุติลงแล้งการที่จำเลยที่ 1 ร่วมกับจำเลยที่ 2 ผู้เป็นบุตรทำร้ายร่างกายจำเลยที่ 3 หลังจากจำเลยที่ 3 กลับจากการโทรศัพท์ที่แผงของ อ. จนเป็นเหตุให้จำเลยที่ 3 ได้รับอันตรายสาหัส ย่อมเป็นความผิดตาม ป.อ. มาตรา 297 และไม่เป็นการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุตามมาตรา 69.
จำเลยที่ 1 และที่ 2 ร่วมกันทำร้ายจำเลยที่ 3 ก่อนจนถึงขั้นบาดเจ็บสาหัสการที่จำเลยที่ 3 ตอบโต้ไปบ้างแม้ทำให้จำเลยที่ 1 และที่ 2 ได้รับอันตรายแก่กายก็เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายตาม ป.อ. มาตรา 68 จำเลยที่ 3 จึงไม่มีความผิด.
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 และที่ 2 ตาม ป.อ.มาตรา 297 ศาลชั้นต้นพิพากษาว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดตามมาตรา 297 ประกอบด้วยมาตรา 69 จำเลยที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 391 แม้ปัญหานี้จะยุติในศาลชั้นต้น เพราะทั้งโจทก์และจำเลยที่ 1 และที่ 2 มิได้อุทธรณ์ แต่เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า การกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2 เป็นความผิดตามมาตรา 297 ศาลฎีกามีอำนาจปรับบทลงโทษให้ถูกต้องได้โดยไม่มีการเพิ่มโทษ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2402/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือมอบอำนาจสมบูรณ์เมื่อลงลายมือชื่อตามอำนาจกรรมการที่สำนักงานทะเบียนระบุ แม้กรรมการบางคนไม่ได้ลงชื่อ
หนังสือมอบอำนาจระบุว่า บริษัทโจทก์โดย ว. และ ณ.กรรมการเป็นผู้มอบอำนาจให้ฟ้อง แต่ ตอนท้ายของหนังสือมอบอำนาจกลับปรากฏว่า ว. ร่วมกับ อ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์เป็นผู้ลงลายมือชื่อมอบอำนาจให้ฟ้อง เมื่อตาม หนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานครระบุว่า กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนโจทก์คือ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ ก.หรือคนใดคนหนึ่งในสองคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการอีกคนหนึ่งและต้อง ประทับตราสำคัญของโจทก์ ดังนั้นการที่ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ อ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์และประทับตราสำคัญของโจทก์ จึงถือได้ว่าการมอบอำนาจให้ฟ้องคดีของโจทก์สมบูรณ์แล้วแม้ ณ. จะไม่ได้ลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจก็ตาม.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2402/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การมอบอำนาจฟ้องคดี: ความสมบูรณ์ของหนังสือมอบอำนาจและการลงลายมือชื่อของกรรมการบริษัท
หนังสือมอบอำนาจระบุว่าบริษัทโจทก์โดย ว. และ ณ.กรรมการเป็นผู้มอบอำนาจให้ฟ้อง แต่ตอนท้ายของหนังสือมอบอำนาจกลับปรากฏว่า ว.ร่วมกับอ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์เป็นผู้ลงลายมือชื่อมอบอำนาจให้ฟ้อง เมื่อตามหนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานครระบุว่า กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนโจทก์คือ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ ก.หรือคนใดคนหนึ่งในสองคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการอีกคนหนึ่งและต้องประทับตราสำคัญของโจทก์ ดังนั้นการที่ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ อ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์และประทับตราสำคัญของโจทก์จึงถือได้ว่าการมอบอำนาจให้ฟ้องคดีของโจทก์สมบูรณ์แล้ว แม้ ณ.จะไม่ได้ลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจก็ตาม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2402/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ หนังสือมอบอำนาจสมบูรณ์แม้ชื่อกรรมการไม่ตรงตามที่ระบุไว้ หากมีอำนาจลงนามตามหนังสือรับรองบริษัท
หนังสือมอบอำนาจระบุว่า บริษัทโจทก์โดย ว. และ ณ.กรรมการเป็นผู้มอบอำนาจให้ฟ้อง แต่ ตอนท้ายของหนังสือมอบอำนาจกลับปรากฏว่า ว. ร่วมกับ อ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์เป็นผู้ลงลายมือชื่อมอบอำนาจให้ฟ้อง เมื่อตาม หนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานครระบุว่า กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อแทนโจทก์คือ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ ก.หรือคนใดคนหนึ่งในสองคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการอีกคนหนึ่งและต้อง ประทับตราสำคัญของโจทก์ ดังนั้นการที่ ว. ลงลายมือชื่อร่วมกับ อ. กรรมการอีกคนหนึ่งของโจทก์และประทับตราสำคัญของโจทก์ จึงถือได้ว่าการมอบอำนาจให้ฟ้องคดีของโจทก์สมบูรณ์แล้วแม้ ณ. จะไม่ได้ลงลายมือชื่อในหนังสือมอบอำนาจก็ตาม

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2337/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การงดสืบพยานและการแก้ไขคำให้การ: ศาลพิพากษาได้แม้จำเลยไม่ขอแก้ไขคำให้การก่อนฟังคำพิพากษา
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเพิกถอนการชี้สองสถานกับวันนัดสืบพยานและนัดฟังคำพิพากษา ดังนี้ จำเลยอาจยื่นคำร้องขอแก้ไขคำให้การได้ก่อนศาลพิพากษา.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2337/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในการแก้ไขคำให้การก่อนศาลพิพากษา และผลของการงดสืบพยาน
ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเพิกถอนการชี้สองสถานกับวันนัดสืบพยานและนัดฟังคำพิพากษา ดังนี้ จำเลยอาจยื่นคำร้องขอแก้ไขคำให้การได้ก่อนศาลพิพากษา
of 89