พบผลลัพธ์ทั้งหมด 883 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2333/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราตาม พ.ร.บ.ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา, การหักกลบลบหนี้, และขอบเขตการบังคับตามคำให้การ
เช็คพิพาทที่สั่งจ่ายเพื่อชำระหนี้เดิมซึ่งจำเลยกู้เงินโจทก์โดยมี ดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อเดือนรวมอยู่ในจำนวนเงินที่ลงไว้ในเช็คด้วยนั้น ดอกเบี้ยทั้งหมดย่อมตกเป็นโมฆะ เพราะวัตถุประสงค์ในการเรียกดอกเบี้ยเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งตามพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 มาตรา 3 โจทก์มีสิทธิเรียกร้องเฉพาะต้นเงินเท่านั้น แม้จำเลยจะให้การและนำสืบว่าได้นำเงิน 110,000 บาท ไปเข้าบัญชีโจทก์เพื่อชำระหนี้จำนองแทนโจทก์ ก็จะถือว่าจำเลยชำระเงินกู้ยืมต่อโจทก์เป็นเงิน 110,000 บาท แล้ว จำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์อีกหาได้ไม่ เพราะจำเลยมิได้กล่าวในคำให้การขอให้ศาลหักกลบลบหนี้ให้จำเลยหรือโดยการฟ้องแย้ง จึงไม่เป็นประเด็นแห่งคดีที่ศาลจะบังคับให้เป็นไปตามที่จำเลยให้การเช่นนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2333/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราตาม พ.ร.บ.ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา, เช็คพิพาท, หักกลบลบหนี้
เช็คพิพาทที่สั่งจ่ายเพื่อชำระหนี้เดิมซึ่งจำเลยกู้เงินโจทก์โดยมีดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อเดือน รวมอยู่ในจำนวนเงินที่ลงไว้ในเช็ค ด้วย นั้น ดอกเบี้ย ทั้งหมดย่อมตก เป็นโมฆะเพราะวัตถุประสงค์ในการเรียกดอกเบี้ย เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งตาม พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 มาตรา 3 โจทก์มีสิทธิเรียกร้องเฉพาะ ต้นเงินเท่านั้น
แม้จำเลยจะให้การและนำสืบว่าได้ นำเงิน 110,000 บาท ไปเข้าบัญชีโจทก์เพื่อชำระหนี้จำนองแทนโจทก์ ก็จะถือว่าจำเลยชำระเงินกู้ยืมต่อ โจทก์เป็นเงิน 110,000 บาท แล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์อีกหาได้ไม่ เพราะจำเลยมิได้กล่าวในคำให้การขอให้ศาลหักกลบลบหนี้ให้จำเลยหรือโดยการฟ้องแย้ง จึงไม่เป็นประเด็นแห่งคดีที่ศาลจะบังคับให้เป็นไปตาม ที่จำเลยให้การเช่นนั้นได้
แม้จำเลยจะให้การและนำสืบว่าได้ นำเงิน 110,000 บาท ไปเข้าบัญชีโจทก์เพื่อชำระหนี้จำนองแทนโจทก์ ก็จะถือว่าจำเลยชำระเงินกู้ยืมต่อ โจทก์เป็นเงิน 110,000 บาท แล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์อีกหาได้ไม่ เพราะจำเลยมิได้กล่าวในคำให้การขอให้ศาลหักกลบลบหนี้ให้จำเลยหรือโดยการฟ้องแย้ง จึงไม่เป็นประเด็นแห่งคดีที่ศาลจะบังคับให้เป็นไปตาม ที่จำเลยให้การเช่นนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2333/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยเกินอัตราตามกฎหมาย และการชำระหนี้จำนองแทนเจ้าหนี้
เช็ค พิพาทที่สั่งจ่ายเพื่อชำระหนี้เดิม ซึ่ง จำเลยกู้เงินโจทก์โดย มี ดอกเบี้ย ร้อยละ 3 ต่อเดือน รวมอยู่ในจำนวนเงินที่ลงไว้ในเช็ค ด้วย นั้น ดอกเบี้ย ทั้งหมดย่อมตก เป็นโมฆะเพราะวัตถุประสงค์ในการเรียกดอกเบี้ย เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งตาม พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 มาตรา 3 โจทก์มีสิทธิเรียกร้องเฉพาะ ต้นเงินเท่านั้น แม้จำเลยจะให้การและนำสืบว่าได้ นำเงิน 110,000 บาท ไปเข้าบัญชีโจทก์เพื่อชำระหนี้จำนองแทนโจทก์ ก็จะถือว่าจำเลยชำระเงินกู้ยืมต่อ โจทก์เป็นเงิน 110,000 บาท แล้วจำเลยไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์อีกหาได้ไม่ เพราะจำเลยมิได้กล่าวในคำให้การขอให้ศาลหักกลบลบหนี้ให้จำเลยหรือโดยการฟ้องแย้ง จึงไม่เป็นประเด็นแห่งคดีที่ศาลจะบังคับให้เป็นไปตาม ที่จำเลยให้การเช่นนั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2306/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนประกันชีวิต ใช้บังคับตามอายุความทั่วไป 10 ปี
การฟ้องร้องเรียกเงินตามสัญญาประกันชีวิต มิได้มีกฎหมายกำหนดอายุความไว้เป็นพิเศษ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปมีกำหนดสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2306/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องสัญญาประกันชีวิตใช้บังคับตามกฎหมายทั่วไป 10 ปี
การฟ้องร้องเรียกเงินตาม สัญญาประกันชีวิต มิได้มีกฎหมายกำหนดอายุความไว้เป็นพิเศษ จึงต้องใช้ อายุความทั่วไปมีกำหนดสิบปีตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2306/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องประกันชีวิต: ใช้ อายุความทั่วไป 10 ปี หากไม่มีกฎหมายเฉพาะ
การฟ้องร้องเรียกเงินตามสัญญาประกันชีวิตมิได้มีกฎหมายกำหนดอายุความไว้เป็นพิเศษ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปมีกำหนดสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2306/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องประกันชีวิต: ใช้ อายุความทั่วไป 10 ปี หากไม่มีกฎหมายเฉพาะ
การฟ้องร้องเรียกเงินตามสัญญาประกันชีวิต มิได้มีกฎหมายกำหนดอายุความไว้เป็นพิเศษ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปมีกำหนดสิบปีตาม ป.พ.พ. มาตรา 164.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2285/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังพยานหลักฐานที่ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ แต่มีเหตุผลสมควรเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
โจทก์มิได้ส่งสำเนาลายมือชื่อด้านหลังเช็คพิพาทให้แก่จำเลยก่อนวันสืบพยานสามวัน แต่โจทก์ได้ระบุอ้างเช็คพิพาทไว้ในบัญชีพยานโดยชอบ และเช็คพิพาทเป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญแห่งคดี ดังนี้เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมศาลมีอำนาจรับฟังเช็คพิพาทตาม ป.วิ.พ. มาตรา 87(2) ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2285/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบเอกสารที่ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ แต่มีเหตุผลให้รับฟังได้เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
โจทก์มิได้ส่งสำเนาลายมือชื่อด้านหลังเช็คพิพาทให้แก่จำเลยก่อนวันสืบพยานสามวัน แต่โจทก์ได้ระบุอ้างเช็คพิพาทไว้ในบัญชีพยานโดยชอบและเช็คพิพาทเป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสำคัญแห่งคดี ดังนี้เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ศาลมีอำนาจรับฟังเช็คพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 87(2) ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2243/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การระบุวันปฏิเสธการจ่ายเช็คในฟ้องอาญาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ โดย บรรยายฟ้องว่า"...เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2528 เวลากลางวัน ผู้เสียหายซึ่ง เป็นผู้ทรงเช็ค ได้ นำเช็ค ดังกล่าวไปเข้าบัญชีเงินฝากของผู้เสียหายที่ธนาคาร กรุงเทพ จำกัด สาขา 129 ลาดพร้าว เพื่อเรียกเก็บเงินตามเช็ค นั้น แต่ ธนาคารได้ ปฏิเสธการจ่ายเงินโดย แจ้งว่า โปรดติดต่อผู้สั่งจ่าย..." เช่นนี้ ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าวันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินเป็นวันเดียวกับวันที่โจทก์นำเช็ค เข้าบัญชีของโจทก์นั้นเอง ฟ้องโจทก์จึงเป็นฟ้องที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับเวลาที่เกิดการกระทำผิด คือ วันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เป็นฟ้องที่ชอบตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แล้ว.