คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
เพียร สุมิระ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 705 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 251-253/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแรงงานกลางกรณีจำเลยต่างชาติ และการจ้างงานไม่มีกำหนดระยะเวลา
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยทำงานให้แก่จำเลยในประเทศไทยมูลคดีที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่าย ค่าทำงานล่วงเวลา สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชยและค่าเสียหายในการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเกิดขึ้นในประเทศไทย แม้จำเลยจะมิได้มีภูมิลำเนาในประเทศไทย โจทก์ก็ชอบที่จะเสนอคดีต่อศาลแรงงานกลางได้ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 33.
แม้อายุสัญญาขุดเจาะน้ำมันระหว่างจำเลยกับบริษัท ท. จะกำหนดเวลาไว้แน่นอน แต่โจทก์กับจำเลยมิได้ตกลงจ้างกันเพียงหมดอายุสัญญาระหว่างจำเลยกับบริษัท ท. คราวใดคาวหนึ่ง การจ้างระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงหาใช่การจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 251-253/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแรงงานและลักษณะการจ้างงาน: คดีเกิดขึ้นในไทย แม้จำเลยไม่มีภูมิลำเนา และสัญญาจ้างไม่มีกำหนดระยะเวลา
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยทำงานให้แก่จำเลยในประเทศไทยมูลคดีที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ้ายค่าทำงานล่วงเวลาสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าค่าชดเชยและค่าเสียหายในการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเกิดขึ้นในประเทศไทยแม้จำเลยจะมิได้มีภูมิลำเนาในประเทศไทยโจทก์ก็ชอบที่จะเสนอคดีต่อศาลแรงงานกลางได้ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522มาตรา33. แม้อายุสัญญาขุดเจาะน้ำมันระหว่างจำเลยกับบริษัทท.จะกำหนดเวลาไว้แน่นอนแต่โจทก์กับจำเลยมิได้ตกลงจ้างกันเพียงหมดอายุสัญญาระหว่างจำเลยกับบริษัทท.คราวใดคาวหนึ่งการจ้างระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงหาใช่การจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 251-253/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อำนาจศาลแรงงานกลางในคดีจ้างงานต่างประเทศ และการจ้างงานไม่มีกำหนดระยะเวลา
โจทก์เป็นลูกจ้างของจำเลยทำงานให้แก่จำเลยในประเทศไทยมูลคดีที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ้าย ค่าทำงานล่วงเวลาสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย และค่าเสียหายในการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมเกิดขึ้นในประเทศไทยแม้จำเลยจะมิได้มีภูมิลำเนาในประเทศไทย โจทก์ก็ชอบที่จะเสนอคดีต่อศาลแรงงานกลางได้ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522มาตรา 33.
แม้อายุสัญญาขุดเจาะน้ำมันระหว่างจำเลยกับบริษัท ท. จะกำหนดเวลาไว้แน่นอน แต่โจทก์กับจำเลยมิได้ตกลงจ้างกันเพียงหมดอายุสัญญาระหว่างจำเลยกับบริษัท ท.คราวใดคาวหนึ่ง การจ้างระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงหาใช่การจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 237/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิลาออกของลูกจ้าง: จำเลยไม่อาจกำหนดวันลาออกอื่นนอกเหนือจากที่ลูกจ้างยื่นได้
จำเลยมีข้อบังคับว่าพนักงานที่ประสงค์จะลาออกจะต้องยื่นใบลาออกจากงานล่วงหน้าไม่น้อยกว่า30วันและวันที่จำเลยอนุมัติให้ลาออกได้เป็นวันสิ้นสุดสัญญาการจ้างงานข้อบังคับนี้มีความหมายเพียงกำหนดระเบียบการลาออกของพนักงานว่าจะต้องยื่นใบลาล่วงหน้าเป็นระยะเวลาเท่าใดและวันสิ้นสุดสัญญาการจ้างงานเป็นวันใดมิใช่หมายความว่าจำเลยมีสิทธิหรือมีอำนาจกำหนดการลาออกจากงานของโจทก์เป็นวันอื่นนอกจากใบลาได้การลาออกเป็นสิทธิของโจทก์ที่จะลาออกเมื่อใดก็ได้ภายใต้ข้อบังคับของจำเลยซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างโจทก์ยื่นใบลาออกถูกต้องตามข้อบังคับเป็นสิทธิของโจทก์ที่จะกำหนดวันลาออกของตนได้จำเลยไม่ชอบที่จะอนุมัติวันลาเป็นประการอื่นการที่จำเลยอนุมัติให้โจทก์ลาออกก่อนกำหนดทำให้โจทก์เสียหายไม่ได้รับค่าจ้างที่จะได้รับถึงวันที่โจทก์ประสงค์ลาออกอย่างแท้จริงจำเลยต้องจ่ายค่าเสียหายส่วนนี้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 237/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิลาออกของลูกจ้าง: จำเลยไม่อาจกำหนดวันลาออกอื่นนอกเหนือจากที่ลูกจ้างแจ้งได้ แม้มีข้อบังคับกำหนดระยะเวลาแจ้งลาออก
จำเลยมีข้อบังคับว่า พนักงานที่ประสงค์จะลาออก จะต้องยื่นใบลาออกจากงานล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน และวันที่จำเลยอนุมัติให้ลาออกได้เป็นวันสิ้นสุดสัญญาการจ้างงาน ข้อบังคับนี้มีความหมายเพียงกำหนดระเบียบการลาออกของพนักงานว่า จะต้องยื่นใบลาล่วงหน้าเป็นระยะเวลาเท่าใด และวันสิ้นสุดสัญญาการจ้างงานเป็นวันใด มิใช่หมายความว่าจำเลยมีสิทธิหรือมีอำนาจกำหนดการลาออกจากงานของโจทก์เป็นวันอื่นนอกจากใบลาได้ การลาออกเป็นสิทธิของโจทก์ที่จะลาออกเมื่อใดก็ได้ภายใต้ข้อบังคับของจำเลยซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง โจทก์ยื่นใบลาออกถูกต้องตามข้อบังคับ เป็นสิทธิของโจทก์ที่จะกำหนดวันลาออกของตนได้ จำเลยไม่ชอบที่จะอนุมัติวันลาเป็นประการอื่น การที่จำเลยอนุมัติให้โจทก์ลาออกก่อนกำหนดทำให้โจทก์เสียหายไม่ได้รับค่าจ้างที่จะได้รับถึงวันที่โจทก์ประสงค์ลาออกอย่างแท้จริง จำเลยต้องจ่ายค่าเสียหายส่วนนี้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 214/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทำผ่านทนาย และขอบเขตการอุทธรณ์คำพิพากษาตามยอม
ทนายจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับโจทก์ตามอำนาจที่จำเลยมอบไว้ให้ในใบแต่งทนายความ สัญญาประนีประนอมยอมความย่อมมีผลผูกมัดจำเลย จำเลยจะอุทธรณ์ว่าทนายจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับโจทก์โดยมิได้รับความยินยอมจากจำเลยก่อนและมิได้แจ้งผลของคดีให้จำเลยทราบไม่ได้เพราะเป็นอุทธรณ์ที่ไม่เข้าเหตุใดเหตุหนึ่งตามข้อยกเว้นของมาตรา 138 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
สัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งระบุว่าจำเลยยอมชำระเงินให้โจทก์ตามฟ้องภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันทำยอม โดยมิได้ระบุจำนวนเงินตามฟ้องว่าเป็นเงินเท่าใดนั้น ไม่ใช่ข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ส่วนจำเลยจะต้องชำระเงินให้แก่โจทก์เป็นจำนวนเท่าใดนั้นเมื่อมีข้อโต้เถียงกันขึ้น ก็เป็นเรื่องที่ต้องว่ากล่าวกันในชั้นบังคับคดี

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 214/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความที่ทนายทำตามอำนาจ และขอบเขตการบังคับคดี
ทนายจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับโจทก์ตามอำนาจที่จำเลยมอบไว้ให้ในใบแต่งทนายความสัญญาประนีประนอมยอมความย่อมมีผลผูกมัดจำเลยจำเลยจะอุทธรณ์ว่าทนายจำเลยทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับโจทก์โดยมิได้รับความยินยอมจากจำเลยก่อนและมิได้้แจ้งผลของคดีให้จำเลยทราบไม่ได้เพราะเป็นอุทธรณ์ที่ไม่เข้าเหตุใดเหตุหนึ่งตามข้อยกเว้นของมาตรา138วรรคสองแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง สัญญาประนีประนอมยอมความซึ่งระบุว่าจำเลยยอมชำระเงินให้โจทก์ตามฟ้องภายในกำหนด1ปีนับแต่วันทำยอมโดยมิได้ระบุจำนวนเงินตามฟ้องว่าเป็นเงินเท่าใดนั้นไม่ใช่ข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมายส่วนจำเลยจะต้องชำระเงินให้แก่โจทก์เป็นจำนวนเท่าใดนั้นเมื่อมีข้อโต้เถียงกันขึ้นก็เป็นเรื่องที่ต้องว่ากล่าวกันในชั้นบังคับคดี.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 189/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างเนื่องจากเกษียณอายุ ค่าชดเชย และสิทธิวันหยุดพักผ่อน
โจทก์เป็นลูกจ้างประจำของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจำเลยตามข้อบังคับของธนาคารฯจำเลยฉบับที่4ข้อ15(4)และข้อ18ที่กำหนดว่าพนักงานต้องออกจากงานเมื่อเกษียณอายุคือการที่พนักงานมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์นั้นมิใช่เป็นการกำหนดระยะเวลาการจ้างเพราะมิได้กำหนดข้อผูกพันให้จ้างกันจนกว่าพนักงานจะมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์แต่เป็นการกำหนดคุณสมบัติพนักงานของจำเลยเป็นการทั่วไปดังนั้นพนักงานผู้มีอายุครบ60ปีบริบูรณ์จึงมิใช่ลูกจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานเมื่อธนาคารฯจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะโจทก์มีอายุครบ60ปีบริบูรณ์ธนาคารฯจำเลยจึงต้องจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์ เงินบำเหน็จที่ธนาคารฯจำเลยจ่ายให้แก่โจทก์เป็นเงินที่มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจ่ายแตกต่างกับค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานฯจึงถือไม่ได้ว่าเป็นค่าชดเชย ข้อบังคับของธนาคารฯจำเลยฉบับที่17ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงินเดือนระหว่างลาข้อ11วรรคแรกกำหนดว่า"ผู้ปฏิบัติงานมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีหนึ่งได้ 10วันโดยไม่ถือเป็นวันลา"และความในวรรคท้ายกำหนดว่า"การลาการอนุญาตให้ลาพักผ่อนประจำปีให้เป็นไปตามที่ผู้จัดการกำหนด"เมื่อข้อเท็จจริงไม่ปรากฏว่าผู้จัดการได้กำหนดวันให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีไว้การที่โจทก์มิได้ใช้สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีจึงหาตัดสิทธิโจทก์ที่จะได้รับค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานฯไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 189/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุเกษียณกับการจ่ายค่าชดเชยและค่าวันหยุดพักผ่อน: ข้อบังคับบริษัทมิใช่สัญญาจ้างที่มีกำหนดระยะเวลา
โจทก์เป็นลูกจ้างประจำของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จำเลย ตาม ข้อบังคับของธนาคารฯ จำเลย ฉบับ ที่ 4 ข้อ 15(4) และ ข้อ 18 ที่กำหนดว่าพนักงานต้อง ออกจากงานเมื่อเกษียณอายุคือการที่พนักงานมีอายุครบ60 ปีบริบูรณ์นั้น มิใช่เป็นการกำหนดระยะเวลาการจ้าง เพราะมิได้กำหนดข้อผูกพันให้จ้างกันจนกว่าพนักงานจะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แต่ เป็นการกำหนดคุณสมบัติพนักงานของจำเลยเป็นการทั่วไป ดัง นั้นพนักงานผู้มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ จึงมิใช่ลูกจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน เมื่อธนาคารฯ จำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะโจทก์มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ ธนาคารฯ จำเลยจึงต้อง จ่ายค่าชดเชยให้โจทก์ เงินบำเหน็จที่ธนาคารฯ จำเลยจ่ายให้แก่โจทก์ เป็นเงินที่มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจ่ายแตกต่าง กับค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ จึงถือ ไม่ได้ว่าเป็นค่าชดเชย ข้อบังคับของธนาคารฯ จำเลย ฉบับ ที่ 17 ว่าด้วยการลา และการจ่ายเงินเดือน ระหว่างลา ข้อ 11 วรรคแรก กำหนดว่า "ผู้ปฏิบัติงานมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีหนึ่งได้ 10 วัน โดย ไม่ถือ เป็นวันลา"และความในวรรคท้ายกำหนดว่า "การลา การอนุญาตให้ลาพักผ่อนประจำปีให้เป็นไปตาม ที่ผู้จัดการกำหนด" เมื่อข้อเท็จจริงไม่ปรากฏว่าผู้จัดการได้ กำหนดวันให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีไว้ การที่โจทก์มิได้ใช้ สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปี จึงหาตัด สิทธิโจทก์ที่จะได้ รับค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ ไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 189/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างเพราะเกษียณอายุ ไม่ถือเป็นการกำหนดระยะเวลาจ้าง ต้องจ่ายค่าชดเชย และค่าจ้างวันหยุดพักผ่อน
โจทก์เป็นลูกจ้างประจำของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจำเลยตามข้อบังคับของธนาคารฯจำเลยฉบับที่4ข้อ15(4)และข้อ18ที่กำหนดว่าพนักงานต้องออกจากงานเมื่อเกษียณอายุคือการที่พนักงานมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์นั้นมิใช่เป็นการกำหนดระยะเวลาการจ้างเพราะมิได้กำหนดข้อผูกพันให้จ้างกันจนกว่าพนักงานจะมีอายุครบ60ปีบริบูรณ์แต่เป็นการกำหนดคุณสมบัติพนักงานของจำเลยเป็นการทั่วไปดังนั้นพนักงานผู้มีอายุครบ60ปีบริบูรณ์จึงมิใช่ลูกจ้างที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอนตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานเมื่อธนาคารฯจำเลยเลิกจ้างโจทก์เพราะโจทก์มีอายุครบ60ปีบริบูรณ์ธนาคารฯจำเลยจึงต้องจ่ายค่าชดเชยให้โจทก์ เงินบำเหน็จที่ธนาคารฯจำเลยจ่ายให้แก่โจทก์เป็นเงินที่มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการจ่ายแตกต่างกับค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานฯจึงถือไม่ได้ว่าเป็นค่าชดเชย ข้อบังคับของธนาคารฯจำเลยฉบับที่17ว่าด้วยการลาและการจ่ายเงินเดือนระหว่างลาข้อ11วรรคแรกกำหนดว่า'ผู้ปฏิบัติงานมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีหนึ่งได้10วันโดยไม่ถือเป็นวันลา'และความในวรรคท้ายกำหนดว่า'การลาการอนุญาตให้ลาพักผ่อนประจำปีให้เป็นไปตามที่ผู้จัดการกำหนด'เมื่อข้อเท็จจริงไม่ปรากฏว่าผู้จัดการได้กำหนดวันให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีไว้การที่โจทก์มิได้ใช้สิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีจึงหาตัดสิทธิโจทก์ที่จะได้รับค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานฯไม่.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)
of 71