คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
เพียร สุมิระ

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 705 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างและจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างยังต้องปฏิบัติตามขั้นตอนตามกฎหมาย
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้ มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้น มิใช่ เป็นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันที แต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้ว สัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลง ส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 582 จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้น การยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์ มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงาน โดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใด ตาม มาตรา 583 จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง คดีอยู่ระหว่างพิจารณา จำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไป ย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 10 แล้ว และเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสม เมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้ จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2816-2822/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แม้ศาลอนุญาตเลิกจ้างแล้ว นายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้าง และจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าว
คำสั่งของศาลแรงงานตามมาตรา52แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์พ.ศ.2518ที่อนุญาตให้จำเลยผู้เป็นนายจ้างเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างได้มีผลเป็นเพียงคำอนุญาตให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างที่เป็นกรรมการลูกจ้างได้เท่านั้นมิใช่เป้นคำสั่งแทนนายจ้างให้เลิกจ้างกันได้โดยทันทีแต่เป็นการให้สิทธิแก่นายจ้างที่จะเลิกจ้างได้และนายจ้างต้องออกคำสั่งเลิกจ้างตามที่ศาลแรงงานได้อนุญาตแล้วสัญญาจ้างจึงจะเป็นอันสิ้นสุดลงส่วนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา582จะต้องเป็นกรณีที่นายจ้างแสดงเจตนาเลิกจ้างโดยตรงต่อลูกจ้างว่านายจ้างมีความประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้างนั้นการยื่นคำร้องขอต่อศาลแรงงานกลางเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้จำเลยเลิกจ้างโจทก์มิใช่เป็นการแสดงเจตนาต่อโจทก์การที่จำเลยมีคำสั่งเลิกจ้างโจทก์ต่อมาตามคำสั่งของศาลแรงงานโดยโจทก์มิได้กระทำผิดอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา583จึงต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า จำเลยยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางขออนุญาตเลิกจ้างโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างคดีอยู่ระหว่างพิจารณาจำเลยได้มีคำสั่งเป็นหนังสือให้โจทก์หยุดพักผ่อนประจำปีโดยกำหนดให้หยุดตั้งแต่วันที่กำหนดให้เป็นต้นไปย่อมถือได้ว่าจำเลยผู้เป็นนายจ้างได้กำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปีล่วงหน้าให้แก่โจทก์ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้อ10แล้วและเป็นการกำหนดช่วงระยะเวลาให้โจทก์พิจารณาเลือกวันหยุดเอาเองตามความสะดวกและเหมาะสมเมื่อโจทก์ไม่ยอมหยุดตามที่จำเลยกำหนดไว้จำเลยจึงไม่มีหน้าที่ต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีให้แก่โจทก์.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การประมูลที่ไม่ผูกพัน: จำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลได้ แม้มีผู้เสนอราคาแล้ว สัญญาจึงยังไม่เกิดขึ้น
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีตโจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่นเมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใด ๆทั้งสิ้นจากจำเลยดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้วจำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลยถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้นหนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอแต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลและมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน15วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสียอันเป็นการบอกปัดคำเสนอโดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้ โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริตเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลยการยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่าส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่า ซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่จึงบังคับให้ไม่ได้ไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การประมูลและการยกเลิกประมูล: สิทธิและผลผูกพันตามสัญญา
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีตโจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่นเมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใดๆทั้งสิ้นจากจำเลยดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้วจำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลยถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้นหนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอแต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูลและมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน15วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสียอันเป็นการบอกปัดคำเสนอโดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือสัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้ โจทก์ฟ้องอ้างว่าจำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริตเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลยการยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่าส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่าซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่จึงบังคับให้ไม่ได้ดังนี้จึงไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2811/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การประมูลที่ไม่เป็นคำเสนอ การยกเลิกการประมูลโดยชอบธรรม และสิทธิของผู้อื่น
จำเลยประกาศเรียกประมูลให้เช่าลานพื้นคอนกรีต โจทก์เป็นผู้เข้าประมูลโดยเสนอให้ผลประโยชน์สูงกว่าผู้เข้าประมูลอื่น เมื่อปรากฏว่ามีเงื่อนไขการประมูลกำหนดไว้ให้จำเลยมีสิทธิที่ยกเลิกการประมูลครั้งนี้เสียก็ได้ ไม่ว่าจะด้วยกรณีใดและผู้เข้าประมูลไม่มีสิทธิเรียกร้องใด ๆ ทั้งสิ้นจากจำเลย ดังนี้เห็นได้ว่าแม้มีผู้เข้าประมูลแล้ว จำเลยก็มีสิทธิยกเลิกการประมูลได้ เมื่อจำเลยไม่ต้องผูกพันทำสัญญาตามประกาศ ประกาศนั้นจึงไม่เป็นคำเสนอของจำเลย ถือได้เพียงว่าเป็นคำเชื้อเชิญให้ทำคำเสนอเท่านั้น หนังสือประมูลของโจทก์จึงจะนับได้ว่าเป็นคำเสนอ
หนังสือประมูลของโจทก์เป็นคำเสนอ แต่ตามเงื่อนไขการประมูลจำเลยมีสิทธิยกเลิกการประมูล และมีเอกสิทธิที่จะตัดสินให้ผู้ประมูลรายใดเป็นผู้ชนะการประมูลก็ได้ และกำหนดว่าผู้ประมูลได้จะต้องทำสัญญาเช่ากับจำเลยตามแบบของจำเลยภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากกองกฎหมายของจำเลยฉะนั้นเมื่อจำเลยยกเลิกการประมูลเสีย อันเป็นการบอกปัดคำเสนอ โดยยังไม่มีการตัดสินและไม่มีการทำสัญญาเป็นหนังสือ สัญญาระหว่างโจทก์กับจำเลยจึงยังไม่เกิดขึ้นจะบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามสัญญามิได้
โจทก์ฟ้องอ้างว่า จำเลยยกเลิกการประมูลโดยไม่สุจริต เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ แต่เมื่อยังไม่มีสัญญาผูกพันระหว่างโจทก์กับจำเลย การยกเลิกการประมูลย่อมไม่ทำให้เสียหายแก่สิทธิของโจทก์ ทั้งโจทก์ก็มีคำขอเพียงให้บังคับจำเลยทำสัญญาเช่า ส่งมอบที่เช่าและห้ามนำที่นั้นไปให้ผู้อื่นเช่า ซึ่งเป็นคำขอในกรณีมีสัญญาและให้ปฏิบัติตามสัญญานั้นหาได้ขอค่าสินไหมทดแทนไม่ จึงบังคับให้ไม่ได้ ดังนี้จึงไม่มีเหตุที่จะให้พิจารณาสืบพยานต่อไป.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2787/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รวมในที่ดินมรดก: ศาลฎีกายกฟ้องเมื่อข้อเท็จจริงไม่สนับสนุนการเป็นส่วนหนึ่งของมรดก
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายที่โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกเมื่อศาลฎีกาฟังว่าที่พิพาทมิได้เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมรดกแล้ว แม้ในชั้นฎีกาจะมีเพียงโจทก์และจำเลยที่ 2 เป็นฎีกา โดยจำเลยที่ 1 มิได้ฎีกาด้วยแต่กรณีดังกล่าวเป็นเรื่องการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้องโจทก์โดยให้มีผลถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2787/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รวมในที่ดินมรดก: ศาลฎีกายกฟ้องกรณีพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์และสิ่งปลูกสร้าง
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายที่โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกเมื่อศาลฎีกาฟังว่าที่พิพาทมิได้เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมรดกแล้วแม้ในชั้นฎีกาจะมีเพียงโจทก์และจำเลยที่2เป็นฎีกาโดยจำเลยที่1มิได้ฎีกาด้วยแต่กรณีดังกล่าวเป็นเรื่องการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้องโจทก์โดยให้มีผลถึงจำเลยที่1ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2787/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ กรรมสิทธิ์รวมในที่ดินมรดก: การพิสูจน์ความเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมรดก และผลกระทบต่อจำเลยที่ไม่ฎีกา
โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยทั้งสองซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินพิพาทอันเป็นทรัพย์มรดกของผู้ตายที่โจทก์เป็นผู้จัดการมรดก เมื่อศาลฎีกาฟังว่าที่พิพาทมิได้เป็นส่วนหนึ่งของที่ดินมรดกแล้ว แม้ในชั้นฎีกาจะมีเพียงโจทก์และจำเลยที่ 2 เป็นฎีกา โดยจำเลยที่ 1 มิได้ฎีกาด้วยแต่กรณีดังกล่าวเป็นเรื่องการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกฟ้องโจทก์โดยให้มีผลถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2763/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เบี้ยเลี้ยงต่างจังหวัดไม่ถือเป็นค่าทำงานวันหยุด หากจำเลยไม่ได้สั่งให้ทำงานในวันหยุด
การที่จำเลยอนุมัติให้จ่ายเงินเบี้ยเลี้ยงให้โจทก์ตามจำนวนวันที่ออกไป ปฏิบัติงานที่ต่างจังหวัด เป็นการให้เงินตอบแทนการทำงานในช่วงเวลา ที่ทำงานในต่างจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นวันทำงานปกติหรือวันหยุดประจำสัปดาห์ มีลักษณะเช่นเดียวกับเงินเดือน และจำเลยก็มิได้มีคำสั่งหรือระบุเจาะจงว่า โจทก์จะต้องทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ แต่เป็นดุลพินิจของโจทก์ที่จะเลือกปฏิบัติงานในวันใดเวลาใดก็ได้ในระหว่างช่วงเวลานั้น จึงถือไม่ได้ว่าจำเลยสั่งให้โจทก์ทำงานในวันหยุด โจทก์ไม่มีสิทธิได้ ค่าทำงานในวันหยุดในช่วงเวลาดังกล่าว
of 71