พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,100 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2674/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำความผิดฐานชิงทรัพย์: การลักทรัพย์สำเร็จแล้วต่อเนื่องกับการใช้กำลังประทุษร้ายหลบหนี
จำเลยลักทรัพย์สำเร็จแล้ว ขณะหลบหนี ญ. ผู้ดูแลรักษาทรัพย์นั้นได้วิ่งไล่จับจำเลย จำเลยสะบัดหลุดแล้วใช้มีดแทง ญ. ถือได้ว่าเป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันยังไม่ขาดตอนจากการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ จำเลยใช้มีดแทง ญ. อันเป็นการใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อให้พ้นจากการจับกุม การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานชิงทรัพย์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2674/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกระทำความผิดต่อเนื่องฐานลักทรัพย์และชิงทรัพย์ การใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อหลีกเลี่ยงการจับกุม
จำเลยลักทรัพย์สำเร็จแล้ว ขณะหลบหนี ญ. ผู้ดูแลรักษาทรัพย์นั้นได้วิ่งไล่จับจำเลย จำเลยสะบัดหลุดแล้วใช้มีดแทง ญ. ถือได้ว่าเป็นการกระทำที่ต่อเนื่องกันยังไม่ขาดตอนจากการกระทำความผิดฐานลักทรัพย์ จำเลยใช้มีดแทง ญ. อันเป็นการใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อให้พ้นจากการจับกุม การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานชิงทรัพย์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2521-2522/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อบังคับบริษัทจ่ายเงินบำเหน็จหรือค่าชดเชย: ศาลยืนตามเดิม หากเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชย ลูกจ้างได้ค่าชดเชยเท่านั้น
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยที่ 1 กำหนดว่า ถ้าบริษัทเลิกจ้างโดยพนักงานไม่มีความผิด จะจ่ายเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยตามข้อบังคับฯ ข้อ 9.9 ทั้งหมดแทนเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46 เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยที่คำนวณไว้ตามข้อ 9.9 มีจำนวนน้อยกว่าเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46บริษัทก็จะจ่ายเพิ่มให้เท่ากับเงินค่าชดเชยตามประกาศหรือกฎเกณฑ์ของทางราชการเพียงอย่างเดียวเช่นกัน มีความหมายว่า หากลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จมีจำนวนน้อยกว่าค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน แล้ว ลูกจ้างก็คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จด้วย ดังนั้นเมื่อโจทก์มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชยที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน และโจทก์ได้รับค่าชดเชยไปถูกต้องแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับดังกล่าวอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2521-2522/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อบังคับบริษัทจ่ายเงินบำเหน็จหรือค่าชดเชย: ศาลยืนตามศาลแรงงานกลาง ไม่ต้องจ่ายเงินบำเหน็จซ้ำซ้อนหากค่าชดเชยสูงกว่า
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยที่ 1 กำหนดว่า ถ้าบริษัทเลิกจ้างโดยพนักงานไม่มีความผิด จะจ่ายเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยตามข้อบังคับฯ ข้อ 9.9 ทั้งหมดแทนเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากเงินบำเหน็จหรือเงินค่าชดเชยที่คำนวณไว้ตามข้อ 9.9 มีจำนวนน้อยกว่าเงินค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงาน ข้อ 46บริษัทก็จะจ่ายเพิ่มให้เท่ากับเงินค่าชดเชยตามประกาศหรือกฎเกณฑ์ของทางราชการเพียงอย่างเดียวเช่นกัน มีความหมายว่า หากลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จมีจำนวนน้อยกว่าค่าชดเชยตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน แล้ว ลูกจ้างก็คงมีสิทธิได้รับค่าชดเชยแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จด้วย ดังนั้นเมื่อโจทก์มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จน้อยกว่าค่าชดเชยที่โจทก์มีสิทธิได้รับตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน และโจทก์ได้รับค่าชดเชยไปถูกต้องแล้วโจทก์จึงไม่มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จจากจำเลยที่ 1 ตามข้อบังคับดังกล่าวอีก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2360/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าล่วงเวลา/วันหยุดพักผ่อน: ไม่ผูกติดกับการเลิกจ้าง, ค่าพักผ่อนผูกติดกับการเลิกจ้าง
เงินค่าล่วงเวลาและค่าทำงานในวันหยุดตามประเพณี เป็นเงินที่ นายจ้าง ต้องจ่ายเพื่อตอบแทนการทำงานนอกเวลาทำงานปกติและเพื่อตอบแทนการทำงานในวันหยุดตามประเพณี ดังนี้ เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นลูกจ้างได้ทำงานล่วงเวลาและทำงานในวันหยุดตามประเพณี โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องจากจำเลยซึ่งเป็นนายจ้าง กรณีมิใช่เป็นเรื่องที่โจทก์มีสิทธิเรียกร้องก็ต่อเมื่อจำเลยได้เลิกจ้างโจทก์.
สิทธิเรียกร้องค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีนั้นตกอยู่ในบังคับของประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45 แสดงว่าสิทธิเรียกร้องนี้ย่อมเกิดมีขึ้นต่อเมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้างแล้ว ดังนี้เมื่อจำเลยมิได้เลิกจ้างโจทก์ โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีจากจำเลยได้.
สิทธิเรียกร้องค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีนั้นตกอยู่ในบังคับของประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ข้อ 45 แสดงว่าสิทธิเรียกร้องนี้ย่อมเกิดมีขึ้นต่อเมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้างแล้ว ดังนี้เมื่อจำเลยมิได้เลิกจ้างโจทก์ โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีจากจำเลยได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2244/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกต้องเป็นการเข้าไปภายหลังการโอนกรรมสิทธิ์ การครอบครองก่อนไม่ผิด
ความผิดฐานบุกรุกตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 นั้นต้อง เป็นการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือ การครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นโดย ปกติสุข จำเลยเข้าไปปลูกสร้างบ้านในที่พิพาทโดย ความยินยอมของเจ้าของเดิม ก่อนโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทมา หาใช่จำเลยเพิ่งเข้าไปครอบครองที่พิพาทเมื่อโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแล้วไม่ การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดตาม มาตรา 362.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2244/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกต้องเป็นการครอบครองใหม่ หรือรบกวนการครอบครองเดิม การยินยอมจากเจ้าของเดิมก่อนโอนกรรมสิทธิ์ ไม่ถือเป็นความผิด
ความผิดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 นั้นต้องเป็นการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นโดยปกติสุข จำเลยเข้าไปปลูกสร้างบ้านในที่พิพาทโดยความยินยอมของเจ้าของเดิมก่อนโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทมา หาใช่จำเลยเพิ่งเข้าไปครอบครองที่พิพาทเมื่อโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแล้วไม่ การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดตามมาตรา 362
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2244/2532 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกที่ดินต้องเป็นการเข้าไปครอบครองโดยไม่มีสิทธิ การยินยอมของเจ้าของเดิมก่อนโจทก์ได้กรรมสิทธิ์ ไม่ถือเป็นการบุกรุก
ความผิดฐานบุกรุกตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 362 นั้น ต้องเป็นการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นโดยปกติสุข จำเลยเข้าไปปลูกสร้างบ้านในที่พิพาทโดยความยินยอมของเจ้าของเดิมก่อนโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทมา หาใช่จำเลยเพิ่งเข้าไปครอบครองที่พิพาทเมื่อโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแล้วไม่ การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดตาม มาตรา 362
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2244/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบุกรุกต้องเป็นการครอบครองโดยปราศจากความยินยอม การปลูกสร้างโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของเดิมก่อนโอนกรรมสิทธิ์ไม่ถือเป็นความผิด
ความผิดฐานบุกรุกตาม ป.อ. มาตรา 362 นั้น ต้องเป็นการเข้าไปในอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นเพื่อถือการครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้น หรือเข้าไปกระทำการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการครอบครองอสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นโดยปกติสุขจำเลยเข้าไปปลูกสร้างบ้านในที่พิพาทโดยความยินยอมของเจ้าของเดิมก่อนโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทมา หาใช่จำเลยเพิ่งเข้าไปครอบครองที่พิพาทเมื่อโจทก์รับโอนกรรมสิทธิ์ที่พิพาทแล้วไม่ การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดตามมาตรา 362.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2210/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักค่าเสียหายจากหนี้ที่เกิดจากการทำงานของลูกจ้าง และสิทธิในการได้รับค่าชดเชย
โจทก์เป็นลูกจ้างและเป็นพนักงานขายของจำเลย ได้ขายสินค้าของจำเลยให้แก่ลูกค้าแล้วเรียกเก็บเงินไม่ได้ โจทก์จึงทำบันทึกตกลงให้จำเลยเรียกร้องเงินค่าสินค้าของลูกค้าดังกล่าวจากโจทก์ โดยให้ถือว่าโจทก์ได้รับชำระเงินจากลูกค้ารายนี้แล้ว หนี้ดังกล่าวจึงเป็นหนี้ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างแรงงานมิใช่หนี้อื่นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ ข้อ 30 จำเลยนำหนี้รายนี้มาหักจากค่าจ้างที่ต้องจ่ายให้แก่โจทก์ได้.