พบผลลัพธ์ทั้งหมด 243 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3709/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกอบกิจการท่าเรือโดยไม่ได้รับอนุญาต และความรับผิดของกรรมการบริษัท
การที่จำเลยทั้งสองนำเรือมาดัดแปลงใช้เหล็กปิดปากระวางเพื่อให้ รถยนต์บรรทุกแล่นลงไปขนส่งสินค้ากับได้ใช้ลวดผูกโยงตรึงให้อยู่กับที่ และใช้เรือลำเลียงเดินทะเลมีขนาด1,075.40 ตันกรอส เทียบขนถ่ายสินค้า เช่นนี้ถือได้ว่าเป็นการใช้สิ่งลอยน้ำเป็นสถานที่สำหรับให้บริการแก่ เรือเดินทะเลที่มีขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสขึ้นไปอันเป็นการประกอบกิจการ ท่าเรือแล้ว หาได้ใช้ในสภาพที่เป็นเรือลำเลียงไม่การกระทำของจำเลย ดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการประกอบกิจการค้าขายอันเป็นสาธารณูปโภค อันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรือผาสุกของประชาชน ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 จำเลยทั้งสองฎีกาว่าทำการขนถ่ายสินค้า 2 ครั้งด้วยความจำเป็น ไม่มีเจตนาใช้เป็นท่าเรือกับฎีกาว่าเรือสมิหลา2 ไม่ใช่เรือเดินทะเลเป็นฎีกา ในปัญหาข้อเท็จจริง จำเลยทั้งสองฎีกาว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456มาตรา 47 นั้นปรากฏว่าโจทก์ไม่ได้ขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามมาตรา 47 และศาลล่างทั้งสองมิได้หยิบยกบทกฎหมายดังกล่าวมาลงโทษจำเลยทั้งสอง แต่อย่างใดฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงไม่เป็นสาระแก่คดีศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย การประกอบกิจการท่าเรือ แม้ผู้ประกอบกิจการจะไม่ได้มุ่งหาประโยชน์ จากกิจการดังกล่าวก็ต้องได้รับอนุญาตเพราะกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัย หรือผาสุกของประชาชน จำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการกระทำกิจการต่างๆ แทนลำพังจำเลยที่ 1 ไม่อาจกระทำกิจการด้วยตนเองได้การกระทำความผิด เกิดขึ้นเนื่องมาจากจำเลยที่ 2 โดยตรงย่อมถือว่าจำเลยที่ 2ร่วมกระทำ ความผิดกับจำเลยที่ 1 ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3709/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประกอบกิจการท่าเรือโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามกฎหมาย
การที่จำเลยทั้งสองนำเรือมาดัดแปลงใช้เหล็กปิดปากระวางเพื่อให้ รถยนต์บรรทุกแล่นลงไปขนส่งสินค้า กับได้ใช้ลวดผูกโยงตรึงให้อยู่กับที่และใช้เรือลำเลียงเดินทะเลมีขนาด 1,075.40 ตันกรอส เทียบขนถ่ายสินค้าเช่นนี้ ถือได้ว่าเป็นการใช้สิ่งลอยน้ำเป็นสถานที่สำหรับให้บริการแก่เรือเดินทะเลที่มีขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสขึ้นไป อันเป็นการประกอบกิจการท่าเรือแล้ว หาได้ใช้ในสภาพที่เป็นเรือลำเลียงไม่การกระทำของจำเลยดังกล่าวถือได้ว่าเป็นการประกอบกิจการค้าขายอันเป็นสาธารณูปโภคอันกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัยหรือผาสุกของประชาชน ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58
จำเลยทั้งสองฎีกาว่าทำการขนถ่ายสินค้า 2 ครั้งด้วยความจำเป็น ไม่มีเจตนาใช้เป็นท่าเรือ กับฎีกาว่าเรือสมิหลา 2 ไม่ใช่เรือเดินทะเลเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยทั้งสองฎีกาว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 มาตรา 47 นั้นปรากฏว่าโจทก์ไม่ได้ขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามมาตรา 47 และศาลล่างทั้งสองมิได้หยิบยกบทกฎหมายดังกล่าวมาลงโทษจำเลยทั้งสองแต่อย่างใด ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงไม่เป็นสาระแก่คดี ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
การประกอบกิจการท่าเรือ แม้ผู้ประกอบกิจการจะไม่ได้มุ่งหาประโยชน์จากกิจการดังกล่าว ก็ต้องได้รับอนุญาตเพราะกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัย หรือผาสุกของประชาชน
จำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการกระทำกิจการต่าง ๆ แทนลำพังจำเลยที่ 1 ไม่อาจกระทำกิจการด้วยตนเองได้ การกระทำความผิดเกิดขึ้นเนื่องมาจากจำเลยที่ 2 โดยตรง ย่อมถือว่าจำเลยที่ 2 ร่วมกระทำความผิดกับจำเลยที่ 1 ด้วย
จำเลยทั้งสองฎีกาว่าทำการขนถ่ายสินค้า 2 ครั้งด้วยความจำเป็น ไม่มีเจตนาใช้เป็นท่าเรือ กับฎีกาว่าเรือสมิหลา 2 ไม่ใช่เรือเดินทะเลเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง
จำเลยทั้งสองฎีกาว่า การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระพุทธศักราช 2456 มาตรา 47 นั้นปรากฏว่าโจทก์ไม่ได้ขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามมาตรา 47 และศาลล่างทั้งสองมิได้หยิบยกบทกฎหมายดังกล่าวมาลงโทษจำเลยทั้งสองแต่อย่างใด ฎีกาของจำเลยทั้งสองจึงไม่เป็นสาระแก่คดี ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
การประกอบกิจการท่าเรือ แม้ผู้ประกอบกิจการจะไม่ได้มุ่งหาประโยชน์จากกิจการดังกล่าว ก็ต้องได้รับอนุญาตเพราะกระทบกระเทือนถึงความปลอดภัย หรือผาสุกของประชาชน
จำเลยที่ 1 เป็นนิติบุคคลมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการกระทำกิจการต่าง ๆ แทนลำพังจำเลยที่ 1 ไม่อาจกระทำกิจการด้วยตนเองได้ การกระทำความผิดเกิดขึ้นเนื่องมาจากจำเลยที่ 2 โดยตรง ย่อมถือว่าจำเลยที่ 2 ร่วมกระทำความผิดกับจำเลยที่ 1 ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3670/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อคืนที่ดิน: สัญญาประนีประนอมมีผลผูกพัน ไม่ใช่นิติกรรมอำพราง
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินจดทะเบียนไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว โจทก์จำเลยทำสัญญาต่อกันอีกฉบับหนึ่งว่า โจทก์มีสิทธิซื้อที่ดินคืนได้ภายใน 10 ปี ดังนี้ สัญญาที่ทำต่อกันไม่ใช่สัญญาขายฝากหรือนิติกรรมอำพราง แต่ข้อกำหนดที่ให้ โจทก์มีสิทธิซื้อที่ดินคืนจากจำเลยได้ภายใน 10 ปี เป็นคำมั่นในการซื้อขายทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 456 วรรคสอง จึงมีผลผูกพันคู่กรณีใช้บังคับกันได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3670/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิซื้อคืนที่ดิน: สัญญาประนีประนอมมีผลผูกพัน ไม่ใช่นิติกรรมอำพราง
ทำสัญญาซื้อขายที่ดินจดทะเบียนไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว โจทก์จำเลยทำสัญญาต่อกันอีกฉบับหนึ่งว่า โจทก์มีสิทธิซื้อที่ดิน คืนได้ภายใน 10 ปีดังนี้ สัญญาที่ทำต่อกัน ไม่ใช่สัญญาขายฝาก หรือนิติกรรมอำพรางแต่ข้อกำหนดที่ให้ โจทก์มีสิทธิซื้อที่ดินคืนจาก จำเลยได้ภายใน 10 ปีเป็นคำมั่นในการซื้อขายทรัพย์สินตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา456วรรคสองจึงมีผลผูกพัน คู่กรณีใช้บังคับกัน ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3615/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้าน้ำมันต่อการปลอมปนน้ำมันเชื้อเพลิง: ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายและการพิสูจน์ความระมัดระวัง
ความผิดต่อพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2521 มาตรา 25 ตรี มีข้อสันนิษฐานไว้ในวรรคสองและวรรคสี่ความว่า ถ้าการกระทำความผิดต่อพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิงเกิดขึ้นภายในสถานที่ทำการหรือสถานที่จำหน่ายของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา 6 ทวิ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ค้าน้ำมันดังกล่าวเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้ว ที่จะป้องกันมิให้มีการกระทำความผิดเกิดขึ้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า มีผู้กระทำความผิดถูกจับขณะกำลังปลอมปนน้ำมันโดยถ่ายน้ำมันก๊าดลงในถังเก็บน้ำมันโซล่าใต้ดินของจำเลยที่ 1 ในบริเวณปั๊มน้ำมันของจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 1 ไม่มีพยานมาสืบหักล้างข้อสันนิษฐานของกฎหมายดังกล่าวได้ จำเลยที่ 1 ในฐานะผู้ค้าน้ำมัน และจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่1จึงต้องรับผิดตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3615/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้าน้ำมันต่อการปลอมปนน้ำมันเชื้อเพลิง: ข้อสันนิษฐานทางกฎหมายและการใช้ความระมัดระวัง
ความผิดต่อพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิงพ.ศ.2521มาตรา25 ตรี มีข้อสันนิษฐานไว้ในวรรคสองและวรรคสี่ความว่าถ้าการกระทำความผิด ต่อพระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิงเกิดขึ้นภายในสถานที่ทำการหรือ สถานที่จำหน่ายของผู้ค้าน้ำมันตามมาตรา6 ทวิ ให้สันนิษฐานไว้ก่อน ว่าผู้ค้าน้ำมันดังกล่าวเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดด้วยเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้วที่จะป้องกันมิให้มี การกระทำความผิดเกิดขึ้นเมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่ามีผู้กระทำความผิด ถูกจับขณะกำลังปลอมปนน้ำมันโดยถ่ายน้ำมันก๊าดลงในถังเก็บ น้ำมันโซล่าใต้ดินของจำเลยที่ 1 ในบริเวณปั๊มน้ำมันของจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 1 ไม่มีพยานมาสืบหักล้างข้อสันนิษฐานของกฎหมาย ดังกล่าวได้จำเลยที่1ในฐานะผู้ค้าน้ำมันและจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็น หุ้นส่วนผู้จัดการของจำเลยที่1จึงต้องรับผิดตามฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3549/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าเป็นพ้นวิสัยจากเหตุใด จำเลยต้องรับผิดชอบความเสียหายหรือไม่ การสืบพยานสำคัญเพื่อพิสูจน์ความรับผิด
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายโดยอาศัยมูลสัญญาเช่าเนื่องจากการชำระหนี้ตามสัญญาเช่าเป็นการพ้นวิสัยหากการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะทำได้ เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดชอบจำเลยต้องใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์แต่ถ้าจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบจำเลย เป็นอันหลุดพ้นจากการชำระหนี้ฉะนั้นจึงต้องฟังข้อเท็จจริง ให้ได้ความแน่ชัดว่า การที่จำเลยทำสัญญาให้โจทก์เช่าที่ดินพิพาทโดยอ้างว่าจำเลยเป็นเจ้าของและทรัพย์ที่เช่าไม่อาจส่งมอบได้กลายเป็น พ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทน แก่โจทก์หรือไม่เพียงใดจะฟังจากเอกสารท้ายฟ้องท้ายคำให้การซึ่งเป็น หลักฐานเพียงบางส่วนมาวินิจฉัยชี้ขาดโดยไม่เปิดโอกาสให้คู่ความ นำพยานหลักฐานเข้าสืบหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3549/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การชำระหนี้ตามสัญญาเช่าที่เป็นไปไม่ได้ จำเลยต้องรับผิดชอบความเสียหายหรือไม่ ศาลต้องสืบพยาน
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายโดยอาศัยมูลสัญญาเช่า เนื่องจากการชำระหนี้ตามสัญญาเช่าเป็นการพ้นวิสัย หากการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะทำได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดชอบ จำเลยต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ ์แต่ถ้าจำเลยไม่ต้องรับผิดชอบ จำเลยเป็นอันหลุดพ้นจากการชำระหนี้ ฉะนั้นจึงต้องฟังข้อเท็จจริงให้ได้ความแน่ชัดว่า การที่จำเลยทำสัญญาให้โจทก์เช่าที่ดินพิพาทโดยอ้างว่าจำเลยเป็นเจ้าของและทรัพย์ที่เช่าไม่อาจส่งมอบได้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ซึ่งจำเลยจะต้องรับผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทน แก่โจทก์หรือไม่เพียงใด จะฟังจากเอกสารท้ายฟ้องท้ายคำให้การซึ่งเป็นหลักฐานเพียงบางส่วนมาวินิจฉัยชี้ขาดโดยไม่เปิดโอกาสให้คู่ความนำพยานหลักฐานเข้าสืบหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3536/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต, กรรมการมีส่วนรับผิด, บทกำหนดโทษตาม พ.ร.บ.ธุรกิจเงินทุน
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันดำเนินกิจการจัดหาเงินจากประชาชนและให้กู้ยืมเงินในระยะสั้นเป็นทางค้าปกติโดยรับเงินจากประชาชนแล้วออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้เจ้าของเงินไว้รวม 70 รายการ และยังให้บริษัทเงินทุน 2 บริษัทกู้ยืมเงินไป โดยจำเลยรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน อีก 6 รายการเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจเงินทุน ฯ พ.ศ.2522. จำเลยทั้งสี่ยอมให้การรับสารภาพไม่ต่อสู้คดี และมิได้ นำพยานหลักฐานเข้านำสืบหักล้างข้อเท็จจริงดังกล่าว การที่จำเลยฎีกาว่าไม่มีเจตนากระทำความผิดอีกย่อมรับฟังไม่ได้
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่ 1 เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1
ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ บัญญัติให้ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้น คือเมื่อลงมือกระทำผิดต้องถูกลงโทษขั้นแรกจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่ 1 จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่ 1 เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1
ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ บัญญัติให้ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้น คือเมื่อลงมือกระทำผิดต้องถูกลงโทษขั้นแรกจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ และตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3536/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนโดยไม่ได้รับอนุญาต และความรับผิดของกรรมการบริษัท
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทั้งสี่ร่วมกันดำเนินกิจการจัดหาเงินจากประชาชน และให้กู้ยืมเงินในระยะสั้นเป็นทางค้าปกติโดยรับเงินจากประชาชนแล้ว ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้เจ้าของเงินไว้รวม 70 รายการและยังให้ บริษัทเงินทุน2บริษัทกู้ยืมเงินไปโดยจำเลยรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน อีก6รายการเป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจเงินทุนฯพ.ศ.2522. จำเลยทั้งสี่ยอมให้การรับสารภาพไม่ต่อสู้คดีและมิได้ นำพยานหลักฐานเข้านำสืบหักล้างข้อเท็จจริงดังกล่าวการที่จำเลยฎีกา ว่าไม่มีเจตนากระทำความผิดอีกย่อมรับฟังไม่ได้
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯจำเลยที่ 2ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่1จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สำหรับความผิดนั้นๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่1เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯบัญญัติให้ ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้นคือเมื่อลงมือกระทำผิด ต้องถูกลงโทษขั้นแรก จำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับและ ตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
บริษัทจำเลยที่ 1 กระทำความผิดซึ่งจะต้องรับโทษตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯจำเลยที่ 2ที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทจำเลยที่1จะต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สำหรับความผิดนั้นๆ เช่นเดียวกับบริษัทจำเลยที่1เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทำความผิดของบริษัทจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 71 พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุนฯบัญญัติให้ ลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้ 2 ขั้นคือเมื่อลงมือกระทำผิด ต้องถูกลงโทษขั้นแรก จำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับและ ตลอดเวลาที่กระทำความผิดจะต้องถูกลงโทษในขั้นที่สองอีกโดยปรับไม่เกินวันละห้าพันบาทโดยไม่คำนึงว่าจะเป็นความผิดกรรมเดียวกันหรือไม่ก็ตาม