พบผลลัพธ์ทั้งหมด 487 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4181/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนและแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีห้างหุ้นส่วน กรณีไม่ปฏิบัติหน้าที่และมีข้อขัดแย้ง
การตั้งผู้ชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนนั้น แม้จะเพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้และบรรดาผู้ติดต่อค้าขายกับห้างด้วย แต่ก็เพื่อประโยชน์ของผู้เป็นหุ้นส่วนของห้างเป็นประการสำคัญ ดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1251 ซึ่งแสดงว่าผู้เป็นหุ้นส่วนอาจตกลงไว้ในสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนให้ใครเป็นผู้ชำระบัญชีก็ได้ เมื่อปรากฏว่าห้างหุ้นส่วนจำกัด อ. มีหุ้นส่วนเพียง 2 คน คือผู้ร้องซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดและ ว. สามีผู้ร้องซึ่งเป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดและเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ ว. ถึงแก่กรรม มีผลให้ห้างเลิกและต้องตั้งผู้ชำระบัญชี การที่ผู้ร้องร้องขอให้ศาลตั้งผู้ชำระบัญชีเพราะผู้คัดค้านซึ่งเป็นผู้ชำระบัญชีโดยคำสั่งศาลไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1253, 1254 และมีข้อขัดแย้งกันอยู่กับผู้ร้องจึงมีเหตุสมควรที่ศาลจะถอนผู้คัดค้านจากการเป็นผู้ชำระบัญชีและตั้ง ส. เป็นผู้ชำระบัญชีคนใหม่แทนตามคำร้องของผู้ร้องได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4094/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกคืนเงินสัญญาขายฝากโมฆะ: โจทก์ต้องแสดงว่าไม่รู้/ไม่ควรรู้
เมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วว่า การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ถ้ามิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ท่านว่าเป็นโมฆะ จึงต้องถือว่าบุคคลทุกคนได้รู้ถึงบทบัญญัตินั้นแล้วผู้ใดอ้างว่า ไม่รู้จะต้องแสดงให้เห็นพฤติการณ์เฉพาะตัวเป็นพิเศษโดยแน่ชัดว่า ตนไม่รู้ และไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้เช่นนั้น
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินจากจำเลยทำ หนังสือสัญญาขายฝากกันเองโดยมิได้จดทะเบียนการขายฝาก ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โจทก์เพิ่งทราบจากทนายความว่าสัญญาขายฝากเป็นโมฆะ จึงฟ้องเรียกเงินค่าซื้อฝากคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ จำเลยให้การต่อสู้คดีหลายประการและว่าคดีของโจทก์ขาดอายุความแล้ว ดังนี้ปัญหาจึงมีว่าฝ่ายโจทก์ได้รู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนเงินนั้นแต่เมื่อใด ปัญหาดังกล่าวโจทก์มีหน้าที่จะต้องสืบแสดงว่าโจทก์ไม่รู้และ ไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้ว่านิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ในข้อที่ว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่การที่ศาลชั้นต้น สั่งงดสืบพยานคู่ความและฟังว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว จึงเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาแล้วพิพากษาใหม่
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินจากจำเลยทำ หนังสือสัญญาขายฝากกันเองโดยมิได้จดทะเบียนการขายฝาก ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โจทก์เพิ่งทราบจากทนายความว่าสัญญาขายฝากเป็นโมฆะ จึงฟ้องเรียกเงินค่าซื้อฝากคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ จำเลยให้การต่อสู้คดีหลายประการและว่าคดีของโจทก์ขาดอายุความแล้ว ดังนี้ปัญหาจึงมีว่าฝ่ายโจทก์ได้รู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนเงินนั้นแต่เมื่อใด ปัญหาดังกล่าวโจทก์มีหน้าที่จะต้องสืบแสดงว่าโจทก์ไม่รู้และ ไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้ว่านิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ในข้อที่ว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่การที่ศาลชั้นต้น สั่งงดสืบพยานคู่ความและฟังว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว จึงเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาแล้วพิพากษาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4094/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องลาภมิควรได้จากนิติกรรมโมฆะ: โจทก์ต้องพิสูจน์ความไม่รู้และไม่อยู่ในฐานะที่จะรู้ได้
เมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้แล้วว่า การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ถ้ามิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ท่านว่าเป็นโมฆะ จึงต้องถือว่าบุคคลทุกคนได้รู้ถึงบทบัญญัตินั้นแล้วผู้ใดอ้างว่า ไม่รู้จะต้องแสดงให้เห็นพฤติการณ์เฉพาะตัวเป็นพิเศษโดยแน่ชัดว่า ตนไม่รู้ และไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้เช่นนั้น
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินจากจำเลยทำ หนังสือสัญญาขายฝากกันเองโดยมิได้จดทะเบียนการขายฝาก ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โจทก์เพิ่งทราบจากทนายความว่าสัญญาขายฝากเป็นโมฆะ จึงฟ้องเรียกเงินค่าซื้อฝากคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ จำเลยให้การต่อสู้คดีหลายประการและว่าคดีของโจทก์ขาดอายุความแล้ว ดังนี้ปัญหาจึงมีว่าฝ่ายโจทก์ได้รู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนเงินนั้นแต่เมื่อใด ปัญหาดังกล่าวโจทก์มีหน้าที่จะต้องสืบแสดงว่าโจทก์ไม่รู้และ ไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้ว่านิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ในข้อที่ว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่การที่ศาลชั้นต้น สั่งงดสืบพยานคู่ความและฟังว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว จึงเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาแล้วพิพากษาใหม่
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์รับซื้อฝากที่ดินจากจำเลยทำ หนังสือสัญญาขายฝากกันเองโดยมิได้จดทะเบียนการขายฝาก ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่โจทก์เพิ่งทราบจากทนายความว่าสัญญาขายฝากเป็นโมฆะ จึงฟ้องเรียกเงินค่าซื้อฝากคืนจากจำเลยฐานลาภมิควรได้ จำเลยให้การต่อสู้คดีหลายประการและว่าคดีของโจทก์ขาดอายุความแล้ว ดังนี้ปัญหาจึงมีว่าฝ่ายโจทก์ได้รู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืนเงินนั้นแต่เมื่อใด ปัญหาดังกล่าวโจทก์มีหน้าที่จะต้องสืบแสดงว่าโจทก์ไม่รู้และ ไม่อยู่ในฐานะที่อาจรู้ได้ว่านิติกรรมระหว่างโจทก์จำเลยเป็นโมฆะ อันเป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่จะนำไปสู่การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ในข้อที่ว่าฟ้องโจทก์ขาดอายุความหรือไม่การที่ศาลชั้นต้น สั่งงดสืบพยานคู่ความและฟังว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว จึงเป็นการไม่ชอบศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจารณาแล้วพิพากษาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4084/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การ: การเบิกความตนเอง & การสืบพยานเพิ่มเติม
ในวันนัดสืบพยานโจทก์ จำเลยซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การมาศาล ศาลชั้นต้นจดรายงานกระบวนพิจารณาว่าจำเลยไม่ได้แถลงข้อความอะไร เมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จ จำเลยมีสิทธิอ้างตนเองเบิกความเป็นพยาน แม้จำเลยจะขาดนัดยื่นคำให้การ จำเลยหาจำต้องยื่นบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 88 แต่อย่างใดไม่ เพราะเป็นการสืบพยานตามที่กฎหมายบัญญัติอนุญาตให้จำเลย ซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การมาศาลและศาลไม่อนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การ สาบานตนให้การเป็นพยานเองได้คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ไม่อนุญาตให้จำเลยนำพยานเข้าสืบเฉพาะที่จำเลยอ้างตนเองเบิกความเป็นพยาน จึงเป็นคำสั่งและการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบไม่ได้ปฏิบัติ ให้เป็นไปตามบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณาคดีและการพิจารณาพยานหลักฐานแม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกปัญหาข้อนี้ขึ้นมาก็ตาม ปัญหานี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจที่จะหยิบยกขึ้นวินิจฉัยให้เพิกถอนคำสั่งและ การดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ไม่ชอบนั้นเสียได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ประกอบด้วย มาตรา247 ในวันนัดฟังคำพิพากษา จำเลยยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การอ้างว่าจำเลยเพิ่งทราบเรื่องมีการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้องเมื่อศาลมีหมายแจ้งนัดสืบพยานโจทก์ไปให้ทราบการขอยื่นคำให้การของจำเลย จึงเป็นการร้องขอเมื่อเสร็จการพิจารณาแล้วก่อนมีคำพิพากษา กรณีจึงไม่ใช่เรื่องที่จำเลยอ้างต่อศาลว่าไม่ได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การ เมื่อเริ่มต้นสืบพยานหรือแจ้งให้ศาลทราบก่อนเริ่มสืบพยานดังที่ บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 ที่ศาลอุทธรณ์จะสั่งให้ศาลชั้นต้นไต่สวนและมีคำสั่งในเรื่องดังกล่าวจึงไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4084/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิจำเลยขาดนัดยื่นคำให้การในการเบิกความพยาน และการดำเนินการของศาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ในวันนัดสืบพยานโจทก์ จำเลยซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การมาศาลศาลชั้นต้นจดรายงานกระบวนพิจารณาว่าจำเลยไม่ได้แถลงข้อความอะไรเมื่อสืบพยานโจทก์เสร็จ จำเลยมีสิทธิอ้างตนเองเบิกความเป็นพยาน แม้จำเลยจะขาดนัดยื่นคำให้การ จำเลยหาจำต้องยื่นบัญชีระบุพยานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 แต่อย่างใดไม่ เพราะเป็นการสืบพยานตามที่กฎหมายบัญญัติอนุญาตให้จำเลย ซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การมาศาลและศาลไม่อนุญาตให้จำเลยยื่นคำให้การ สาบานตนให้การเป็นพยานเองได้คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ไม่อนุญาตให้จำเลยนำพยานเข้าสืบเฉพาะที่จำเลยอ้างตนเองเบิกความเป็นพยาน จึงเป็นคำสั่งและการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบไม่ได้ปฏิบัติ ให้เป็นไปตามบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณาคดีและการพิจารณาพยานหลักฐานแม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกปัญหาข้อนี้ขึ้นมาก็ตาม ปัญหานี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจที่จะหยิบยกขึ้นวินิจฉัยให้เพิกถอนคำสั่งและ การดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ไม่ชอบนั้นเสียได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 ประกอบด้วย มาตรา 247
ในวันนัดฟังคำพิพากษา จำเลยยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การอ้างว่าจำเลยเพิ่งทราบเรื่องมีการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้อง เมื่อศาลมีหมายแจ้งนัดสืบพยานโจทก์ไปให้ทราบการขอยื่นคำให้การของจำเลย จึงเป็นการร้องขอเมื่อเสร็จการพิจารณาแล้วก่อนมีคำพิพากษา กรณีจึงไม่ใช่เรื่องที่จำเลยอ้างต่อศาลว่าไม่ได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การ เมื่อเริ่มต้นสืบพยานหรือแจ้งให้ศาลทราบก่อนเริ่มสืบพยานดังที่ บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 ที่ศาลอุทธรณ์จะสั่งให้ศาลชั้นต้นไต่สวนและมีคำสั่งในเรื่องดังกล่าวจึงไม่ชอบ
ในวันนัดฟังคำพิพากษา จำเลยยื่นคำร้องขอยื่นคำให้การอ้างว่าจำเลยเพิ่งทราบเรื่องมีการส่งหมายเรียกและสำเนาฟ้อง เมื่อศาลมีหมายแจ้งนัดสืบพยานโจทก์ไปให้ทราบการขอยื่นคำให้การของจำเลย จึงเป็นการร้องขอเมื่อเสร็จการพิจารณาแล้วก่อนมีคำพิพากษา กรณีจึงไม่ใช่เรื่องที่จำเลยอ้างต่อศาลว่าไม่ได้จงใจขาดนัดยื่นคำให้การ เมื่อเริ่มต้นสืบพยานหรือแจ้งให้ศาลทราบก่อนเริ่มสืบพยานดังที่ บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 199 ที่ศาลอุทธรณ์จะสั่งให้ศาลชั้นต้นไต่สวนและมีคำสั่งในเรื่องดังกล่าวจึงไม่ชอบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4045/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ, อายุความมรดก, อำนาจฟ้อง, ผู้จัดการมรดก: ศาลฎีกายืนตามศาลอุทธรณ์
คดีก่อนผู้พิทักษ์เป็นโจทก์ฟ้องคดีแทนผู้เสมือนไร้ความสามารถขอแบ่งมรดกของผู้เสมือนไร้ความสามารถ ศาลฎีกาพิพากษายกฟ้อง โดยว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแทนผู้เสมือนไร้ความสามารถเพราะเป็นเพียงผู้พิทักษ์ มีอำนาจหน้าที่เพียงแต่ให้ความยินยอมหรือไม่แก่ ผู้เสมือนไร้ความสามารถเท่านั้น ผู้เสมือนไร้ความสามารถคือ โจทก์ในคดีนี้จึงมาเป็นโจทก์ฟ้องคดีเองโดยได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ดังนี้ ฟ้องโจทก์ย่อมไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีก่อน และศาลอุทธรณ์ในคดีนี้ ไม่จำต้องพิพากษาคดีตามศาลอุทธรณ์ในคดีก่อน เพราะคำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ในคดีก่อนย่อมสิ้นผลโดยคำพิพากษาศาลฎีกาในคดีก่อน ดังนั้นศาลอุทธรณ์คดีนี้จึงย่อมพิพากษากลับกับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ในคดีก่อนได้
ทรัพย์มรดกของบิดาโจทก์จำเลยเป็นทรัพย์มรดกที่ยังไม่ได้แบ่งปัน และต่างได้ร่วมกันปกครองทรัพย์มรดกดังกล่าวตลอดมาจนมารดาโจทก์ จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกและศาลแพ่งได้มีคำสั่งตั้งมารดาโจทก์ จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าทรัพย์มรดกอยู่ในระหว่างจัดการ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1736 อายุความจึงสะดุดหยุดลง ตั้งแต่นั้นมา โจทก์มาฟ้องขอแบ่งมรดกเมื่อเกิน 10 ปี นับแต่เจ้ามรดก ถึงแก่ความตาย คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
ทรัพย์มรดกของบิดาโจทก์จำเลยเป็นทรัพย์มรดกที่ยังไม่ได้แบ่งปัน และต่างได้ร่วมกันปกครองทรัพย์มรดกดังกล่าวตลอดมาจนมารดาโจทก์ จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกและศาลแพ่งได้มีคำสั่งตั้งมารดาโจทก์ จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าทรัพย์มรดกอยู่ในระหว่างจัดการ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1736 อายุความจึงสะดุดหยุดลง ตั้งแต่นั้นมา โจทก์มาฟ้องขอแบ่งมรดกเมื่อเกิน 10 ปี นับแต่เจ้ามรดก ถึงแก่ความตาย คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4045/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ, อายุความมรดก, การจัดการมรดก: ศาลฎีกายืนคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
คดีก่อนผู้พิทักษ์เป็นโจทก์ฟ้องคดีแทนผู้เสมือนไร้ความสามารถขอแบ่งมรดกของผู้เสมือนไร้ความสามารถ ศาลฎีกาพิพากษายกฟ้องโดยว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องแทนผู้เสมือนไร้ความสามารถเพราะเป็นเพียง ผู้พิทักษ์มีอำนาจหน้าที่เพียงแต่ให้ความยินยอมหรือไม่แก่ ผู้เสมือนไร้ความสามารถเท่านั้น ผู้เสมือนไร้ความสามารถคือโจทก์ในคดีนี้จึงมาเป็นโจทก์ฟ้องคดีเองโดยได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ดังนี้ ฟ้องโจทก์ย่อมไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีก่อน และศาลอุทธรณ์ในคดีนี้ ไม่จำต้องพิพากษาคดีตามศาลอุทธรณ์ในคดีก่อน เพราะคำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ในคดีก่อนย่อมสิ้นผลโดยคำพิพากษาศาลฎีกาในคดีก่อน ดังนั้นศาลอุทธรณ์คดีนี้จึงย่อมพิพากษากลับกับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ในคดีก่อนได้
ทรัพย์มรดกของบิดาโจทก์จำเลยเป็นทรัพย์มรดกที่ยังไม่ได้แบ่งปัน และต่างได้ร่วมกันปกครองทรัพย์มรดกดังกล่าวตลอดมาจนมารดาโจทก์ จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกและศาลแพ่งได้มีคำสั่งตั้งมารดาโจทก์ จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าทรัพย์มรดกอยู่ในระหว่างจัดการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1736 อายุความจึงสะดุดหยุดลง ตั้งแต่นั้นมา โจทก์มาฟ้องขอแบ่งมรดกเมื่อเกิน 10 ปี นับแต่เจ้ามรดก ถึงแก่ความตาย คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
ทรัพย์มรดกของบิดาโจทก์จำเลยเป็นทรัพย์มรดกที่ยังไม่ได้แบ่งปัน และต่างได้ร่วมกันปกครองทรัพย์มรดกดังกล่าวตลอดมาจนมารดาโจทก์ จำเลยร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกและศาลแพ่งได้มีคำสั่งตั้งมารดาโจทก์ จำเลยเป็นผู้จัดการมรดก ต้องถือว่าทรัพย์มรดกอยู่ในระหว่างจัดการตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1736 อายุความจึงสะดุดหยุดลง ตั้งแต่นั้นมา โจทก์มาฟ้องขอแบ่งมรดกเมื่อเกิน 10 ปี นับแต่เจ้ามรดก ถึงแก่ความตาย คดีโจทก์จึงยังไม่ขาดอายุความ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3985/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่โต้แย้งคำสั่งศาลในชั้นพิจารณาทำให้สิทธิอุทธรณ์ระงับ และประเด็นใหม่ที่ไม่ได้ยกขึ้นในชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
จำเลยนำพยานเข้าสืบก่อนแล้ว แถลงหมดพยานศาลชั้นต้นเห็นว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานโจทก์ และนัดฟังคำพิพากษาในวันรุ่งขึ้นคำสั่งเช่นนี้เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา ทนายจำเลยรับทราบ คำสั่งในวันนั้น และยังมีโอกาสโต้แย้งคำสั่งได้ก่อนฟังคำพิพากษา แต่ก็มิได้โต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นจำเลยจึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่ง ดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 (2)
จำเลยไม่มีสิทธิอุทธรณ์ แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยให้ก็เป็นการมิชอบ ถือว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา ไม่รับวินิจฉัยให้
ตามคำฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยมิได้ยกข้อเท็จจริงขึ้นโต้เถียงว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจากโจทก์ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น ที่โต้เถียงกันในชั้นอุทธรณ์ถือได้ว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ในศาลอุทธรณ์เช่นเดียวกันศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
จำเลยไม่มีสิทธิอุทธรณ์ แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยให้ก็เป็นการมิชอบ ถือว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา ไม่รับวินิจฉัยให้
ตามคำฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยมิได้ยกข้อเท็จจริงขึ้นโต้เถียงว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจากโจทก์ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น ที่โต้เถียงกันในชั้นอุทธรณ์ถือได้ว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ในศาลอุทธรณ์เช่นเดียวกันศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3985/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่โต้แย้งคำสั่งศาลในชั้นพิจารณา และประเด็นข้อเท็จจริงใหม่ในชั้นอุทธรณ์ ทำให้ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
จำเลยนำพยานเข้าสืบก่อน แล้วแถลงหมดพยานศาลชั้นต้นเห็นว่า คดีพอวินิจฉัยได้ จึงงดสืบพยานโจทก์ และนัดฟังคำพิพากษาในวันรุ่งขึ้นคำสั่งเช่นนี้เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาทนายจำเลยรับทราบ คำสั่งในวันนั้น และยังมีโอกาสโต้แย้งคำสั่งได้ก่อนฟังคำพิพากษา แต่ก็มิได้โต้แย้งคำสั่งของศาลชั้นต้นจำเลยจึงไม่มีสิทธิอุทธรณ์คำสั่ง ดังกล่าวได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(2) จำเลยไม่มีสิทธิอุทธรณ์ แม้ศาลอุทธรณ์จะวินิจฉัยให้ก็เป็นการมิชอบ ถือว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลอุทธรณ์ศาลฎีกา ไม่รับวินิจฉัยให้
ตามคำฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยมิได้ยกข้อเท็จจริงขึ้นโต้เถียงว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจากโจทก์ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น ที่โต้เถียงกันในชั้นอุทธรณ์ถือได้ว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ในศาลอุทธรณ์เช่นเดียวกันศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
ตามคำฟ้องอุทธรณ์ของจำเลยมิได้ยกข้อเท็จจริงขึ้นโต้เถียงว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจากโจทก์ ที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีไม่อาจรับฟังได้ว่าจำเลยเช่าที่พิพาทจึงเป็นการวินิจฉัยนอกประเด็น ที่โต้เถียงกันในชั้นอุทธรณ์ถือได้ว่าเป็นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ในศาลอุทธรณ์เช่นเดียวกันศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3984/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซื้อขายไม่เคลือบคลุม แม้ไม่มีต้นฉบับเอกสาร แต่มีสำเนาที่โจทก์มอบให้จำเลย ศาลรับฟังได้ หนี้ร่วมสามีภรรยา
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจำเลยทั้งสองได้ซื้อลูกไก่อาหารไก่และ อาหารหมู ไปจากโจทก์รวม 26 ครั้ง เป็นเงิน 115,835บาท จำเลยทั้งสองได้รับ สินค้าไปตามสำเนาภาพถ่ายใบรับฝากสินค้าท้ายฟ้อง จำเลยค้างชำระ ค่าสินค้าเป็นเงิน 51,930 บาท เป็นคำฟ้อง ที่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาแล้ว ส่วนข้อที่ว่าใครเป็นผู้ซื้อ ผู้รับสินค้าและเป็นสินค้าชนิดใดนั้นเป็นรายละเอียดที่ต้องนำสืบในชั้นพิจารณา ฟ้องโจทก์ไม่เคลือบคลุม
โจทก์ผู้ขายได้มอบต้นฉบับใบรับฝากสินค้าให้แก่จำเลยผู้ซื้อไป คงเก็บไว้แต่สำเนา ถือได้ว่าโจทก์ไม่สามารถนำต้นฉบับเอกสารมาได้ ศาลรับฟังสำเนาแทนได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93(2) จำเลยที่ 1 เป็นสามีของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองประกอบการค้า ร่วมกันในสถานที่เดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดในหนี้สิน ที่ทำการค้าร่วมกัน
โจทก์ผู้ขายได้มอบต้นฉบับใบรับฝากสินค้าให้แก่จำเลยผู้ซื้อไป คงเก็บไว้แต่สำเนา ถือได้ว่าโจทก์ไม่สามารถนำต้นฉบับเอกสารมาได้ ศาลรับฟังสำเนาแทนได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 93(2) จำเลยที่ 1 เป็นสามีของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองประกอบการค้า ร่วมกันในสถานที่เดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดในหนี้สิน ที่ทำการค้าร่วมกัน