พบผลลัพธ์ทั้งหมด 944 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1594/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษเกินคำขอในคดีลักทรัพย์ การพิจารณาความผิดตามมาตรา 335 ของประมวลกฎหมายอาญา
คำฟ้องมิได้บรรยายขอให้ลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์ที่ใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335(10) การที่ศาลล่างพิพากษาลงโทษจำเลยตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335(10)ด้วยเป็นการไม่ถูกต้องเพราะเกินคำขอ.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1376/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คำสั่งศาลแรงงานกลางต้องเป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงานฯ มาตรา 54 ภายใน 15 วัน
คดีร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ที่ถูกยึดในคดีแรงงาน เป็นคดีที่สืบเนื่องมาจากคดีแรงงาน เมื่อศาลแรงงานกลางมีคำสั่งยกคำร้องของผู้ร้องผู้ร้องจะอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้เฉพาะแต่ในข้อกฎหมายไปยังศาลฎีกาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้อ่านคำสั่งนั้น ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1376/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คำสั่งศาลแรงงานกลางต้องเป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงาน ภายใน 15 วัน มิฉะนั้นศาลอุทธรณ์จะไม่รับวินิจฉัย
คดีร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ที่ถูกยึดในคดีแรงงาน เป็นคดีที่สืบเนื่องมาจากคดีแรงงาน เมื่อศาลแรงงานกลางมีคำสั่งยกคำร้องของผู้ร้องผู้ร้องจะอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้เฉพาะแต่ในข้อกฎหมายไปยังศาลฎีกาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้อ่านคำสั่งนั้น ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1376/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์คำสั่งศาลแรงงานกลางในคดีขัดทรัพย์ต้องเป็นไปตามมาตรา 54 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานฯ ภายใน 15 วัน
ผู้ร้องยื่นคำร้องขัดทรัพย์ต่อศาลแรงงานกลาง คดีจึงเป็นคดีที่สืบเนื่องมาจากคดีแรงงาน การอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามวิธีที่ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานฯ มาตรา 54กล่าวไว้โดยเฉพาะ นั่นคือ จะกระทำได้ก็แต่เฉพาะ การอุทธรณ์ปัญหาข้อกฎหมายไปยังศาลฎีกาภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้อ่านคำสั่งนั้น จะอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์หลังจากพ้นกำหนดให้อุทธรณ์นั้นแล้วมิได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1323/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งพิจารณาใหม่ในคดีแรงงาน: เหตุผลความจำเป็น, การขาดนัด, และข้อจำกัดการอุทธรณ์
คำสั่งของศาลแรงงานกลางที่สั่งอนุญาตตามคำขอให้พิจารณาใหม่เกิดขึ้นภายหลังคำพิพากษา จึงมิใช่คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้
ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยที่ 1 ว่า เป็นคำขอที่ได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความขาดนัดและข้อคัดค้านคำชี้ขาดตัดสินของศาลแรงงานกลางแล้วโจทก์จะยกปัญหาที่ศาลฎีกาได้วินิจฉัยเป็นที่ยุติไปดังกล่าวแล้ว ขึ้นมาอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาอีกไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ประกอบด้วย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
จำเลยที่ 1 เดินทางไปต่างประเทศก่อนถูกฟ้องและไม่เคยกลับเข้ามาประเทศไทยอีกเลย จำเลยที่ 1 ย่อมไม่สามารถแถลงขอให้ศาลพิจารณาใหม่ภายในกำหนดเจ็ดวันตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด ศาลแรงงานกลางย่อมมีอำนาจที่จะให้จำเลยที่ 1 ได้พิจารณาใหม่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 และ 209 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31.
ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยที่ 1 ว่า เป็นคำขอที่ได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความขาดนัดและข้อคัดค้านคำชี้ขาดตัดสินของศาลแรงงานกลางแล้วโจทก์จะยกปัญหาที่ศาลฎีกาได้วินิจฉัยเป็นที่ยุติไปดังกล่าวแล้ว ขึ้นมาอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาอีกไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ประกอบด้วย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
จำเลยที่ 1 เดินทางไปต่างประเทศก่อนถูกฟ้องและไม่เคยกลับเข้ามาประเทศไทยอีกเลย จำเลยที่ 1 ย่อมไม่สามารถแถลงขอให้ศาลพิจารณาใหม่ภายในกำหนดเจ็ดวันตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด ศาลแรงงานกลางย่อมมีอำนาจที่จะให้จำเลยที่ 1 ได้พิจารณาใหม่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 และ 209 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1323/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งพิจารณาใหม่คดีแรงงาน: การขาดนัด-เหตุจำเป็น-การอุทธรณ์คำสั่ง
คำสั่งของศาลแรงงานกลางที่สั่งอนุญาตตามคำขอให้พิจารณาใหม่เกิดขึ้นภายหลังคำพิพากษา จึงมิใช่คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้
ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยที่ 1 ว่า เป็นคำขอที่ได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความขาดนัดและข้อคัดค้านคำชี้ขาดตัดสินของศาลแรงงานกลางแล้วโจทก์จะยกปัญหาที่ศาลฎีกาได้วินิจฉัยเป็นที่ยุติไปดังกล่าวแล้ว ขึ้นมาอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาอีกไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ประกอบด้วย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
จำเลยที่ 1 เดินทางไปต่างประเทศก่อนถูกฟ้องและไม่เคยกลับเข้ามาประเทศไทยอีกเลย จำเลยที่ 1 ย่อมไม่สามารถแถลงขอให้ศาลพิจารณาใหม่ภายในกำหนดเจ็ดวันตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด ศาลแรงงานกลางย่อมมีอำนาจที่จะให้จำเลยที่ 1 ได้พิจารณาใหม่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 และ 209 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31.
ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยที่ 1 ว่า เป็นคำขอที่ได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความขาดนัดและข้อคัดค้านคำชี้ขาดตัดสินของศาลแรงงานกลางแล้วโจทก์จะยกปัญหาที่ศาลฎีกาได้วินิจฉัยเป็นที่ยุติไปดังกล่าวแล้ว ขึ้นมาอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาอีกไม่ได้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ประกอบด้วย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31
จำเลยที่ 1 เดินทางไปต่างประเทศก่อนถูกฟ้องและไม่เคยกลับเข้ามาประเทศไทยอีกเลย จำเลยที่ 1 ย่อมไม่สามารถแถลงขอให้ศาลพิจารณาใหม่ภายในกำหนดเจ็ดวันตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด ศาลแรงงานกลางย่อมมีอำนาจที่จะให้จำเลยที่ 1 ได้พิจารณาใหม่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 และ 209 ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1323/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีแรงงานใหม่หลังขาดนัด - เงื่อนไขและข้อยกเว้นตามกฎหมาย
คำสั่งของศาลแรงงานกลางที่สั่งอนุญาตตามคำขอให้พิจารณาใหม่เกิดขึ้นภายหลังคำพิพากษา จึงมิใช่คำสั่งระหว่างพิจารณา คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวได้ ศาลฎีกาได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยที่ 1 ว่า เป็นคำขอที่ได้กล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งซึ่งเหตุที่คู่ความขาดนัดและข้อคัดค้านคำชี้ขาดตัดสินของศาลแรงงานกลางแล้วโจทก์จะยกปัญหาที่ศาลฎีกาได้วินิจฉัยเป็นที่ยุติไปดังกล่าวแล้วขึ้นมาอุทธรณ์ต่อศาลฎีกาอีกไม่ได้ ต้องห้ามตาม ป.วิ.พ. มาตรา 144ประกอบด้วย พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 31 จำเลยที่ 1 เดินทางไปต่างประเทศก่อนถูกฟ้องและไม่เคยกลับเข้ามาประเทศไทยอีกเลย จำเลยที่ 1 ย่อมไม่สามารถแถลงขอให้ศาลพิจารณาใหม่ภายในกำหนดเจ็ดวันตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 41 เมื่อจำเลยที่ 1มิได้จงใจขาดนัด ศาลแรงงานกลางย่อมมีอำนาจที่จะให้จำเลยที่ 1 ได้พิจารณาใหม่ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 208 และ 209 ประกอบด้วยพ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 จำเลยที่ 1 ได้เดินทางออกไปจากประเทศไทยไปที่ประเทศสหรัฐอเมริกาก่อนที่โจทก์จะฟ้องคดีและมิได้เดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยเมื่อเจ้าพนักงานศาลไปปิดหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องที่บ้านพักของจำเลยที่ 1 บุตรสาวของจำเลยที่ 1 ได้พยายามที่จะส่งสำเนาคำฟ้องไปให้จำเลยที่ 1 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้ยื่นคำร้องต่อศาลแรงงานกลางเพื่อขอเลื่อนการพิจารณาไปก่อน แสดงให้เห็นว่าจำเลยที่ 1 มิได้จงใจที่จะขาดนัด ศาลแรงงานกลางเชื่อ ตามทางไต่สวนของจำเลยที่ 1 ว่าจำเลยที่ 1 มิได้จงใจขาดนัด โจทก์จะอุทธรณ์โต้เถียง ดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานดังกล่าวไม่ได้ เป็นการอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงต้องห้ามอุทธรณ์ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 54.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1309/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยประชุมไม่ใช่ค่าจ้าง, ค่าชดเชย, เงินสงเคราะห์คำนวณจากค่าจ้าง, วันหยุดพักผ่อนสะสมได้, จ่ายค่าจ้างวันหยุดพักผ่อน
เบี้ยประชุมถือไม่ได้ว่าเป็นค่าจ้างอันจะนำมาเป็นฐานเพื่อคำนวณค่าชดเชย
โจทก์มิได้ใช้สิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีตามสิทธิของโจทก์โจทก์ออกจากงานเพราะเกษียณอายุ จำเลยต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีแก่โจทก์.(ที่มา-ส่งเสริม)
โจทก์มิได้ใช้สิทธิลาหยุดพักผ่อนประจำปีตามสิทธิของโจทก์โจทก์ออกจากงานเพราะเกษียณอายุ จำเลยต้องจ่ายค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปีแก่โจทก์.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1197/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารประกอบคำเบิกความที่ไม่ใช่ประเด็นข้อพิพาท ไม่ต้องส่งสำเนาให้คู่ความ
โจทก์อ้างเอกสารเป็นพยานโดยไม่ได้ส่งสำเนาให้แก่จำเลย แต่ข้อเท็จจริงตามเอกสารนั้นโจทก์เพียงใช้ประกอบคำเบิกความของพยานซึ่งมิได้เป็นประเด็นโต้เถียงกันในคดี ทั้งคำพิพากษาศาลแรงงานกลางที่วินิจฉัยข้อเท็จจริงก็ไม่ได้อ้างถึงหรือนำเอกสารนั้นมาใช้ในการวินิจฉัย ส่วนเอกสารฉบับที่ศาลใช้ในการวินิจฉัยคดี จำเลยก็ยอมรับข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในเอกสารนั้นแล้ว ดังนั้น โจทก์จึงไม่จำต้องส่งสำเนาเอกสารให้จำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1197/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เอกสารที่ไม่ส่งสำเนาให้คู่ความ ศาลไม่ถือว่าผิด หากไม่ได้ใช้ประกอบการวินิจฉัย
ตามคำฟ้องและคำให้การคดีมีประเด็นข้อพิพาทตามที่ศาลกำหนดเพียงว่า จำเลยมีความรับผิดต้องชำระเงินตามฟ้องแก่โจทก์หรือไม่ส่วนข้อเท็จจริงตามเอกสารที่โจทก์ใช้ประกอบคำเบิกความของพยานมิได้เป็นประเด็นโต้เถียง กันในคดี ทั้งตามคำพิพากษาของศาลที่วินิจฉัยฟังข้อเท็จจริงมา ไม่ปรากฏว่าได้อ้างถึงหรือนำเอกสารที่จำเลยคัดค้านว่ามิได้ส่งสำเนาให้จำเลยมาใช้ในการวินิจฉัยคดีแต่อย่างใด ดังนั้น โจทก์จึงไม่จำต้องส่งสำเนาเอกสารนั้นให้แก่จำเลยก่อน.