พบผลลัพธ์ทั้งหมด 535 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1243/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบพรมให้ขายแล้วไม่ชำระเงิน ไม่เป็นความผิดอาญา แต่เป็นผิดสัญญา
โจทก์ร่วมมอบพรมให้จำเลยเป็นตัวอย่างในการสั่งซื้อหากลูกค้าต้องการพรมนั้นก็ให้ขายได้แต่จำเลยต้องชำระเงินค่าพรมให้โจทก์ร่วมตามราคาที่ตกลงกัน หากขายไม่ได้ก็ต้องคืนพรมแก่โจทก์ร่วมดังนี้การที่จำเลยไม่ชำระราคาพรมหรือคืนพรมแก่โจทก์ร่วมจึงเป็นเพียงผิดสัญญาที่ตกลงกันไว้เท่านั้นไม่มีมูลความผิดทางอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1184/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเนื่องจากผู้เรียง/แต่งฎีกาไม่ได้เป็นทนายความ
การที่ผู้ซึ่งมิได้จดทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นทนายความตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 และมิได้เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในข้อยกเว้นตามบทกฎหมายดังกล่าว เรียงหรือแต่งฟ้องฎีกาให้จำเลยนั้น เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายฎีกาของจำเลยจึงเป็นฎีกาซึ่งเกิดจากการกระทำอันไม่ชอบ ศาลฎีกาไม่อาจรับพิจารณาให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1184/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียงฟ้องฎีกาโดยผู้มิได้เป็นทนายความ ทำให้ฎีกาไม่ชอบ ศาลไม่อาจรับพิจารณา
การที่ผู้ซึ่งมิได้จดทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นทนายความตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 และมิได้เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในข้อยกเว้นตามบทกฎหมายดังกล่าว เรียงหรือแต่งฟ้องฎีกาให้จำเลยนั้น เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายฎีกาของจำเลยจึงเป็นฎีกาซึ่งเกิดจากการกระทำอันไม่ชอบ ศาลฎีกาไม่อาจรับพิจารณาให้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1184/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเรียง/แต่งฟ้องฎีกาโดยผู้ไม่ได้เป็นทนายความเป็นการกระทำอันไม่ชอบ ศาลฎีกาไม่อาจรับพิจารณา
การที่ผู้ซึ่งมิได้จดทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นทนายความตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 และมิได้เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในข้อยกเว้นตามบทกฎหมายดังกล่าว เรียงหรือแต่งฟ้องฎีกาให้จำเลย นั้น เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ฎีกาของจำเลยจึงเป็นฎีกาซึ่งเกิดจาก การกระทำอันไม่ชอบ ศาลฎีกาไม่อาจรับพิจารณาให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากไม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล: ศาลฎีกาให้ความสำคัญกับระยะเวลาที่เหมาะสมและเจตนาของโจทก์
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องคำแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน 3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174 (2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 (1)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทิ้งฟ้องและอำนาจดุลพินิจศาลในการจำหน่ายคดี พิจารณาถึงระยะเวลาที่เหมาะสมและเจตนาของโจทก์
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน 3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132(1) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน วันที่7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม 2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการ โจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตาม คำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียว ระยะเวลาที่ศาลชั้นต้น กำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้น สำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและ แถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนา คำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้น อันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ให้ดำเนินคดีต่อไปศาลชั้นต้นก็ ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดี ต่อไปโดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1069/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีเนื่องจากทิ้งฟ้อง: ศาลควรใช้ดุลพินิจพิจารณาเหตุผลประกอบการพิจารณา
ทนายโจทก์ยื่นคำแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องโดยประกาศหนังสือพิมพ์ ข้อความท้ายคำร้องคำแถลงมีว่า ข้าพเจ้ารอฟังคำสั่งอยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ศาลชั้นต้นได้มีคำสั่งในวันเดียวกันนั้นไม่อนุญาตให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ให้โจทก์แถลงว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไปภายใน3 วัน มิฉะนั้นถือว่าทิ้งฟ้อง ต้องถือว่าโจทก์ได้ทราบคำสั่งนั้นแล้ว เมื่อโจทก์มิได้แถลงภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด จึงเป็นกรณีที่ถือได้ว่าโจทก์ทิ้งฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 174(2) ศาลชั้นต้นมีอำนาจจำหน่ายคดีเสียจากสารบบความได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132(1)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศษลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 132 ไม่ได้บังคับว่าศาลต้องจำหน่ายคดี เป็นแต่ให้ศาลใช้ดุลพินิจ ศาลชั้นต้นมีคำสั่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2527 ให้โจทก์แถลงภายใน 3 วันวันที่ 7 ธันวาคม 2527 ทนายโจทก์ติดประชุม วันที่ 8 ธันวาคม 2527ตรงกับวันเสาร์อันเป็นวันหยุดราชการ วันสุดท้ายแห่งระยะเวลาคือวันที่ 9 ธันวาคม 2527 แต่วันที่ 9 และวันที่ 10 ธันวาคม2527 ตรงกับวันอาทิตย์และวันพระราชทานรัฐธรรมนูญตามลำดับอันเป็นวันหยุดราชการโจทก์จึงมีสิทธิแถลงในวันที่ 11 ธันวาคม2527 ได้ด้วย การที่โจทก์แถลงเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2527 จึงเกินกำหนดตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่จะยื่นได้เพียงวันเดียวระยะเวลาที่ศษลชั้นต้นกำหนดให้โจทก์แถลงภายใน 3 วัน เป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นสำหรับกรณีนี้ ทั้งขณะโจทก์ยื่นคำร้องว่าไม่มีเจตนาทิ้งฟ้องและแถลงขอให้ส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องตามคำสั่งของศาลชั้นต้นอันเป็นการแสดงว่าโจทก์ประสงค์ได้ดำเนินคดีต่อไป ศาลชั้นต้นก็ยังมิได้สั่งจำหน่ายคดี คดีมีเหตุสมควรให้โจทก์ได้มีโอกาสดำเนินคดีต่อไป โดยยังไม่สั่งจำหน่ายคดีของโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการมัสยิด: การแต่งตั้งต้องเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ หากไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผู้ได้รับมอบอำนาจไม่มีอำนาจฟ้อง
การแต่งตั้งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดต้องปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2488 มาตรา 8 ระเบียบการแต่งตั้งถอดถอนกรรมการอิสลามประจำมัสยิด (สุเหร่า) และวิธีดำเนินการอันเกี่ยวกับการศาสนกิจของมัสยิด (สุเหร่า)พ.ศ. 2492 กับพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 มาตรา 8 คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดไม่มีอำนาจแต่งตั้งโดยพลการ คณะกรรมการมัสยิดของโจทก์ที่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดได้มีคำสั่งแต่งตั้ง โดยมิได้มีการประชุมชาวสัปบุรุษเพื่อเลือกตั้ง ย่อมทำให้ผู้ได้รับแต่งตั้งไม่เป็นกรรมการโดยชอบและต่อมาคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยได้มีคำสั่งให้จำเลยกับพวกกลับเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดโจทก์ต่อไปตามเดิมก่อนยื่นฟ้องคดีนี้แล้ว ผู้รับมอบอำนาจจึงไม่มีอำนาจฟ้องในนามมัสยิดโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2531
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการมัสยิด: การแต่งตั้งต้องเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หากไม่ชอบด้วยกฎหมาย สิทธิในการฟ้องคดีเป็นโมฆะ
การแต่งตั้งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดต้องปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2488 มาตรา8 ระเบียบการแต่งตั้งถอดถอนกรรมการอิสลามประจำมัสยิด (สุเหร่า)และวิธีดำเนินการอันเกี่ยวกับการศาสนกิจของมัสยิด (สุเหร่า)พ.ศ. 2492 กับพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 มาตรา 8คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดไม่มีอำนาจแต่งตั้งโดยพลการคณะกรรมการมัสยิดของโจทก์ที่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดได้มีคำสั่งแต่งตั้ง โดยมิได้มีการประชุมชาวสัปบุรุษเพื่อเลือกตั้ง ย่อมทำให้ผู้ได้รับแต่งตั้งไม่เป็นกรรมการโดยชอบและต่อมาคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยได้มีคำสั่งให้จำเลยกับพวกกลับเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดโจทก์ต่อไปตามเดิมก่อนยื่นฟ้องคดีนี้แล้ว ผู้รับมอบอำนาจจึงไม่มีอำนาจฟ้องในนามมัสยิดโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1003/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการมัสยิด: การแต่งตั้งต้องเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ หากไม่ชอบด้วยกฎหมาย จะไม่มีอำนาจฟ้อง
การแต่งตั้งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดต้องปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการศาสนูปถัมภ์ฝ่ายอิสลาม พ.ศ. 2488 มาตรา 8ระเบียบการแต่งตั้งถอดถอนกรรมการอิสลามประจำมัสยิด (สุเหร่า)และวิธีดำเนินการอันเกี่ยวกับการศาสนกิจของมัสยิด (สุเหร่า)พ.ศ. 2492 กับพระราชบัญญัติมัสยิดอิสลาม พ.ศ. 2490 มาตรา 8คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดไม่มีอำนาจแต่งตั้งโดยพลการคณะกรรมการมัสยิดของโจทก์ที่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดได้มีคำสั่งแต่งตั้ง โดยมิได้มีการประชุมชาวสัปบุรุษเพื่อเลือกตั้งย่อมทำให้ผู้ได้รับแต่งตั้งไม่เป็นกรรมการโดยชอบและต่อมาคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยได้มีคำสั่งให้จำเลยกับพวกกลับเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการอิสลามประจำมัสยิดโจทก์ต่อไป ตามเดิมก่อนยื่นฟ้องคดีนี้แล้ว ผู้รับมอบอำนาจจึงไม่มีอำนาจฟ้องในนามมัสยิดโจทก์