พบผลลัพธ์ทั้งหมด 496 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5183/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสหลังแยกกันอยู่ แม้ยังไม่ได้หย่า ถือว่าสินสมรสยังไม่ถูกแบ่ง
การที่โจทก์จำเลยยังไม่ได้หย่ากัน เพียงแต่แยกกันอยู่ จึงถือไม่ได้ว่ามีการแบ่งสินสมรสกันแล้ว ฉะนั้นเมื่อที่นาและยุ้งข้าวเป็นสินสมรสจึงต้องแบ่งให้โจทก์และจำเลยได้ส่วนเท่ากันตาม ป.พ.พ.มาตรา 1533 โจทก์ฟ้องขอหย่ากับจำเลยและขอแบ่งสินสมรส เป็นคดีเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัว แม้ราคาทรัพย์สินที่พิพาทไม่เกินห้าหมื่นบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขคำพิพากษาศาลชั้นต้นเพียงเล็กน้อยก็ตาม ก็ไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5041-5042/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ & สิทธิใช้เครื่องหมายการค้า: คดีเลียนแบบเครื่องหมายการค้าเดิมที่ศาลยกฟ้องแล้ว การใช้เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนโดยชอบ
พนักงานอัยการโจทก์และผู้เสียหายโจทก์ร่วมเคยฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วม ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ต่อมาโจทก์ร่วมพบสินค้าของจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกันนั้นอีกจึงดำเนินการให้โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้โดยอาศัยพยานหลักฐานใหม่และเพิ่มข้อหาอื่นอีกแต่ไม่ได้ความแน่ชัดว่าจำเลยได้ร่วมกันกระทำการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วมขึ้นใหม่ดังนี้เป็นการนำการกระทำของจำเลยที่มีคำพิพากษา เสร็จเด็ดขาดแล้วมาฟ้องใหม่นั่นเองสิทธินำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วมจึงระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (4)
โจทก์ร่วมจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตราควายพระอาทิตย์ย่อมมีสิทธิใช้หรือให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่ตนจดทะเบียนได้โดยชอบ การที่จำเลยที่ 3 ที่ 4 นำเครื่องหมายการค้าที่โจทก์ร่วมมีสิทธิใช้ได้ตามกฎหมายมาใช้กับสินค้าของจำเลยที่ 4 โดยโจทก์ร่วมยินยอมจึงไม่เป็นความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า
โจทก์ร่วมจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตราควายพระอาทิตย์ย่อมมีสิทธิใช้หรือให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่ตนจดทะเบียนได้โดยชอบ การที่จำเลยที่ 3 ที่ 4 นำเครื่องหมายการค้าที่โจทก์ร่วมมีสิทธิใช้ได้ตามกฎหมายมาใช้กับสินค้าของจำเลยที่ 4 โดยโจทก์ร่วมยินยอมจึงไม่เป็นความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5041-5042/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องซ้ำ-เครื่องหมายการค้า: การฟ้องคดีอาญาซ้ำเมื่อมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว และการใช้เครื่องหมายการค้าโดยชอบ
พนักงานอัยการโจทก์และผู้เสียหายโจทก์ร่วมเคยฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วม ศาลชั้นต้นพิพากษา ยกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ต่อมาโจทก์ร่วมพบสินค้าของจำเลยใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกันนั้นอีกจึงดำเนินการให้โจทก์ฟ้องจำเลยเป็นคดีนี้โดยอาศัยพยานหลักฐานใหม่และเพิ่มข้อหาอื่นอีกแต่ไม่ได้ความแน่ชัดว่าจำเลยได้ร่วมกันกระทำการเลียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วมขึ้นใหม่ดังนี้ เป็นการนำการกระทำของจำเลยที่มีคำพิพากษา เสร็จเด็ดขาดแล้วมาฟ้องใหม่นั่นเองสิทธินำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์และโจทก์ร่วมจึงระงับไปตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(4)
โจทก์ร่วมจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตราควายพระอาทิตย์ย่อมมีสิทธิใช้หรือให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่ตนจดทะเบียนได้โดยชอบ การที่จำเลยที่ 3 ที่ 4 นำเครื่องหมายการค้าที่โจทก์ร่วมมีสิทธิใช้ได้ตามกฎหมายมาใช้กับสินค้าของจำเลยที่4 โดยโจทก์ร่วมยินยอมจึงไม่เป็นความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า
โจทก์ร่วมจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าตราควายพระอาทิตย์ย่อมมีสิทธิใช้หรือให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายการค้าที่ตนจดทะเบียนได้โดยชอบ การที่จำเลยที่ 3 ที่ 4 นำเครื่องหมายการค้าที่โจทก์ร่วมมีสิทธิใช้ได้ตามกฎหมายมาใช้กับสินค้าของจำเลยที่4 โดยโจทก์ร่วมยินยอมจึงไม่เป็นความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4631/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากการขับรถประมาทและการรับประกันภัย การคิดดอกเบี้ยจากค่าสินไหมทดแทน
จำเลยที่ 3 เป็นผู้รับประกันภัยรถยนต์คันเกิดเหตุไว้จากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 1ที่ 2 ขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา และจำเลยที่ 3มิได้ให้การต่อสู้เป็นประเด็นไว้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือตัวแทนของจำเลยที่ 2 และกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ดังนั้นจำเลยที่ 3 จะฎีกาว่า จำเลยที่ 2ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์และจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยจากจำเลยที่ 2 จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์นั้นไม่ได้ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ผู้รับประกันภัยฟ้องจำเลยผู้ทำละเมิดให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะโจทก์เป็นผู้รับช่วงสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 880 สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไปโดยมิต้องบอกกล่าว จึงชอบที่จะคิดดอกเบี้ยได้นับแต่วันที่โจทก์ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไป.
โจทก์ผู้รับประกันภัยฟ้องจำเลยผู้ทำละเมิดให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะโจทก์เป็นผู้รับช่วงสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 880 สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไปโดยมิต้องบอกกล่าว จึงชอบที่จะคิดดอกเบี้ยได้นับแต่วันที่โจทก์ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4631/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้รับประกันภัยต่อความเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ และการคิดดอกเบี้ยจากค่าสินไหมทดแทน
จำเลยที่ 3 เป็นผู้รับประกันภัยรถยนต์คันเกิดเหตุไว้จากจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนายจ้างของจำเลยที่ 1 เมื่อจำเลยที่ 1 ที่ 2 ขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณา และจำเลยที่ 3 มิได้ให้การต่อสู้เป็นประเด็นไว้ว่า จำเลยที่ 1 ไม่ได้เป็นลูกจ้างหรือตัวแทนของจำเลยที่ 2 และกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 ดังนั้นจำเลยที่ 3 จะฎีกาว่า จำเลยที่ 2 ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์และจำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยจากจำเลยที่ 2 จึงไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์นั้นไม่ได้ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
โจทก์ผู้รับประกันภัยฟ้องจำเลยผู้ทำละเมิดให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะโจทก์เป็นผู้รับช่วงสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 880 สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไปโดยมิต้องบอกกล่าว จึงชอบที่จะคิดดอกเบี้ยได้นับแต่วันที่โจทก์ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไป
โจทก์ผู้รับประกันภัยฟ้องจำเลยผู้ทำละเมิดให้รับผิดต่อโจทก์ในฐานะโจทก์เป็นผู้รับช่วงสิทธิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 880 สิทธิของโจทก์ย่อมเกิดขึ้นนับตั้งแต่วันที่โจทก์ได้ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไปโดยมิต้องบอกกล่าว จึงชอบที่จะคิดดอกเบี้ยได้นับแต่วันที่โจทก์ชำระค่าสินไหมทดแทนเป็นต้นไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4615/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: ผู้ใช้ก่อนมีสิทธิมากกว่า แม้ไม่ใช่เจ้าของ หากผู้ขอจดทะเบียนรู้ถึงสิทธิและกระทำไม่สุจริต
โจทก์สั่งสินค้าจากบริษัทต่างประเทศซึ่งมีเครื่องหมายการค้ารูปตัวอักษรโรมันคำ "พีคิว" เข้ามาจำหน่ายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523ขณะนั้นจำเลยยังเป็นลูกจ้างของโจทก์ ยังไม่เคยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าว ดังนี้โจทก์มีสิทธิในเครื่องหมายการค้าพิพาทดีกว่าจำเลยการที่จำเลยจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าพิพาทโดยรู้ถึงสิทธิของโจทก์เป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย และการที่บริษัทเจ้าของเครื่องหมายการค้าไม่ได้มอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องคดีหา กระทบกระเทือนถึงสิทธิของโจทก์ไม่ เพราะโจทก์ฟ้องคดีตามสิทธิและในนามของตนเอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4615/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: การใช้ก่อนยื่นจดทะเบียน & การโต้แย้งสิทธิโดยลูกจ้างเดิม
โจทก์ใช้เครื่องหมายการค้ารูปตัวอักษรโรมันคำ 'พี คิว' ซึ่งเป็นของบริษัทในสหรัฐอเมริกากับสินค้าน้ำมันเครื่องและผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ขณะนั้นจำเลยยังเป็นลูกจ้างของโจทก์ จำเลยยังไม่เคยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวเลย เช่นนี้ ในระหว่างโจทก์กับจำเลย โจทก์จึงมีสิทธิในเครื่องหมายการค้าพิพาทดีกว่าจำเลย การที่จำเลยนำเครื่องหมายการค้าพิพาทไปยื่นขอจดทะเบียนโดยรู้ถึงสิทธิของโจทก์ จึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย และการที่บริษัทต่างประเทศผู้เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าไม่ได้มอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องคดีนี้หาได้กระทบกระเทือนถึงสิทธิของโจทก์ไม่ เพราะโจทก์ฟ้องคดีตามสิทธิและในนามของตนเอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4615/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในเครื่องหมายการค้า: ผู้ใช้ก่อนมีสิทธิเหนือกว่า แม้ไม่ใช่เจ้าของสิทธิ
โจทก์ใช้เครื่องหมายการค้ารูปตัวอักษรโรมันคำ 'พีคิว'ซึ่งเป็นของบริษัทในสหรัฐอเมริกากับสินค้าน้ำมันเครื่องและผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ขณะนั้นจำเลยยังเป็นลูกจ้างของโจทก์ จำเลยยังไม่เคยใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวเลย เช่นนี้ ในระหว่างโจทก์กับจำเลย โจทก์จึงมีสิทธิในเครื่องหมายการค้าพิพาทดีกว่าจำเลย การที่จำเลยนำเครื่องหมายการค้าพิพาทไปยื่นขอจดทะเบียนโดยรู้ถึงสิทธิของโจทก์ จึงเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของจำเลย และการที่บริษัทต่างประเทศผู้เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าไม่ได้มอบอำนาจให้โจทก์ฟ้องคดีนี้หาได้กระทบกระเทือนถึงสิทธิของโจทก์ไม่ เพราะโจทก์ฟ้องคดีตามสิทธิและในนามของตนเอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4575/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปลอมแปลงเครื่องหมายการค้า: การผลิตตามคำสั่งลูกค้าเดิมก่อนจดทะเบียน ไม่ถือเป็นความผิด
โจทก์ร่วมและจำเลยต่างผลิตรองเท้าใช้เครื่องหมายการค้า ทามิมิโดยเปิดเผยตามแบบที่ลูกค้านอกราชอาณาจักรสั่งให้ทำมาก่อน โจทก์ร่วมจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าดังกล่าว จนถึงเกิดเหตุ โดยไม่มีพฤติการณ์ให้ปรากฏว่าจำเลยได้ทราบถึงการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วม เช่นนี้ ยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยปลอมเครื่องหมายการค้าของโจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4547/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การสนับสนุนความผิดอาญา: ตัวการไม่มีความผิด ผู้สนับสนุนจึงไม่มีความผิด, ศาลไม่วินิจฉัยข้อหาที่โจทก์ไม่เคยอุทธรณ์
จำเลยที่ 1 เป็นนายทะเบียนยานพาหนะจังหวัด จำเลยที่ 2 เป็นผู้ช่วยเสมียนยานพาหนะจังหวัดเดียวกัน เมื่อจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นตัวการไม่ได้กระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 161 จึงไม่อาจจะมีผู้สนับสนุนในการกระทำความผิดได้ จำเลยที่ 2 จึงไม่มีความผิดฐานสนับสนุนความผิดดังกล่าว
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83, 91, 147, 157, 161, 162, 264, 265 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 83, 147, 161 ลงโทษจำเลยที่ 2 ตามมาตรา 147, 161 ประกอบด้วยมาตรา 86 ข้อหาความผิดอื่นให้ยก เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสองในข้อหาตามมาตรา 157, 264 และ 265 แล้วโจทก์มิได้อุทธรณ์จำเลยทั้งสองอุทธรณ์ฝ่ายเดียว และศาลอุทธรณ์เห็นว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดตามมาตรา 147 และ 161 จำเลยที่ 2 ไม่มีความผิดตามมาตรา 161 ก็จะยกข้อหาตามมาตรา 157, 264 และ 265 ซึ่งยุติไปแล้วขึ้นวินิจฉัยอีกไม่ได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสองตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83, 91, 147, 157, 161, 162, 264, 265 ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยที่ 1 ตามมาตรา 83, 147, 161 ลงโทษจำเลยที่ 2 ตามมาตรา 147, 161 ประกอบด้วยมาตรา 86 ข้อหาความผิดอื่นให้ยก เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยทั้งสองในข้อหาตามมาตรา 157, 264 และ 265 แล้วโจทก์มิได้อุทธรณ์จำเลยทั้งสองอุทธรณ์ฝ่ายเดียว และศาลอุทธรณ์เห็นว่าจำเลยที่ 1 ไม่มีความผิดตามมาตรา 147 และ 161 จำเลยที่ 2 ไม่มีความผิดตามมาตรา 161 ก็จะยกข้อหาตามมาตรา 157, 264 และ 265 ซึ่งยุติไปแล้วขึ้นวินิจฉัยอีกไม่ได้