พบผลลัพธ์ทั้งหมด 206 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3168/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อยกเว้นการฟ้องคดีเด็กและเยาวชนเมื่อพนักงานสอบสวนอยู่นอกเขตอำนาจศาล และการไม่ผูกพันตามกำหนดระยะเวลาฟ้อง
จำเลยมีถิ่นที่อยู่ตามปกติอยู่ในเขตอำนาจของศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาแต่จำเลยกระทำความผิดและถูกจับกุมที่ท่าอากาศยานกรุงเทพ พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคือพนักงานสอบสวนสถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง ซึ่งอยู่นอกเขตอำนาจของศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่เป็นกรณีต้องบังคับตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 มาตรา 24ทวิ วรรคสุดท้าย พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบจึงได้รับยกเว้นไม่ต้องส่งสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการเพื่อให้ยื่นฟ้องต่อศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ในกำหนดระยะเวลา 30 วัน นับแต่วันจับกุมหรือผัดฟ้องตามมาตรา24ทวิ วรรค 1,2 และ 3 ดังนั้น การฟ้องคดีนี้จึงไม่มีกำหนดระยะเวลาตามที่มาตรา 24 ทวิ กำหนดไว้และไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 24 จัตวาพนักงานอัยการประจำศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่จึงยื่นฟ้องคดีต่อศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ได้โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมอัยการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการจดทะเบียนที่ดินและการใช้สิทธิทางศาล กรณีได้รับที่ดินมาตามมาตรา 1382 และ 1367
บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 มิได้หมายความว่าใครต้องการจะใช้สิทธิทางศาลก็ใช้ได้ตามอำเภอใจ แต่เป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาด้วยว่ามีกฎหมายสารบัญญัติสนับสนุนว่าเป็นกรณีจำเป็นจะต้องมาร้องขอต่อศาลเพื่อรับรองหรือคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ จึงจะใช้สิทธิทางศาลได้
ผู้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินซึ่งมีชื่อผู้อื่นเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ในทะเบียนที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนให้ปรากฏในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ย่อมไม่อาจดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้และอาจเสียสิทธิไปได้ถ้ามีบุคคลอื่นได้สิทธิในที่ดินนั้นโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตกับได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตดังนั้น เพื่อได้ให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ในฐานะเจ้าของ กรรมสิทธิ์จึงจำเป็นต้องดำเนินการให้ปรากฏขึ้นในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 กำหนดว่าผู้ได้มาต้องยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยคำพิพากษาหรือคำสั่งอันถึงที่สุดว่าตนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวดังนั้น บุคคลที่ได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามมาตรา 1382 จึงมีความจำเป็นจะต้องใช้สิทธิทางศาลเพื่อให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่า ตนได้กรรมสิทธิ์เพื่อนำไปแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการจดทะเบียนส่วนที่ดินประเภทที่ยังไม่ได้จดทะเบียนไว้ในทะเบียนที่ดินไม่มีกฎหมายบัญญัติดังกล่าวและผู้ยึดถือที่ดินดังกล่าวโดยเจตนายึดถือเพื่อตนย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้นแล้วตามมาตรา 1367 ทั้งกฎหมายก็ให้ความรับรองคุ้มครองสิทธิครอบครองและจำหน่ายจ่ายโอนได้ จึงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดที่จะต้องมาร้องขอต่อศาล
ผู้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินซึ่งมีชื่อผู้อื่นเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ในทะเบียนที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนให้ปรากฏในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ย่อมไม่อาจดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้และอาจเสียสิทธิไปได้ถ้ามีบุคคลอื่นได้สิทธิในที่ดินนั้นโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตกับได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตดังนั้น เพื่อได้ให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ในฐานะเจ้าของ กรรมสิทธิ์จึงจำเป็นต้องดำเนินการให้ปรากฏขึ้นในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 กำหนดว่าผู้ได้มาต้องยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยคำพิพากษาหรือคำสั่งอันถึงที่สุดว่าตนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวดังนั้น บุคคลที่ได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามมาตรา 1382 จึงมีความจำเป็นจะต้องใช้สิทธิทางศาลเพื่อให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่า ตนได้กรรมสิทธิ์เพื่อนำไปแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการจดทะเบียนส่วนที่ดินประเภทที่ยังไม่ได้จดทะเบียนไว้ในทะเบียนที่ดินไม่มีกฎหมายบัญญัติดังกล่าวและผู้ยึดถือที่ดินดังกล่าวโดยเจตนายึดถือเพื่อตนย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้นแล้วตามมาตรา 1367 ทั้งกฎหมายก็ให้ความรับรองคุ้มครองสิทธิครอบครองและจำหน่ายจ่ายโอนได้ จึงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดที่จะต้องมาร้องขอต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3154/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการจดทะเบียนที่ดิน: ความจำเป็นในการใช้สิทธิทางศาลเพื่อแสดงกรรมสิทธิ์ที่ได้มาตามกฎหมาย
บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55มิได้หมายความว่าใครต้องการจะใช้สิทธิทางศาลก็ใช้ได้ตามอำเภอใจ แต่เป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาด้วยว่ามีกฎหมายสารบัญญัติสนับสนุนว่าเป็นกรณีจำเป็นจะต้องมาร้องขอต่อศาลเพื่อรับรองหรือคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ จึงจะใช้สิทธิทางศาลได้
ผู้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินซึ่งมีชื่อผู้อื่นเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ในทะเบียนที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนให้ปรากฏในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ย่อมไม่อาจดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้ และอาจเสียสิทธิไปได้ถ้ามีบุคคลอื่นได้สิทธิในที่ดินนั้นโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตกับได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตดังนั้น เพื่อได้ให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ในฐานะเจ้าของ กรรมสิทธิ์ จึงจำเป็นต้องดำเนินการให้ปรากฏขึ้นในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และกฎกระทรวงฉบับที่ 7(พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 กำหนดว่าผู้ได้มาต้องยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยคำพิพากษาหรือคำสั่งอันถึงที่สุดว่าตนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวดังนั้น บุคคลที่ได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามมาตรา 1382 จึงมีความจำเป็นจะต้องใช้สิทธิทางศาลเพื่อให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่า ตนได้กรรมสิทธิ์เพื่อนำไปแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการจดทะเบียนส่วนที่ดินประเภทที่ยังไม่ได้จดทะเบียนไว้ในทะเบียนที่ดินไม่มีกฎหมายบัญญัติดังกล่าวและผู้ยึดถือที่ดินดังกล่าวโดยเจตนายึดถือเพื่อตนย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้นแล้วตามมาตรา 1367ทั้งกฎหมายก็ให้ความรับรองคุ้มครองสิทธิครอบครองและจำหน่ายจ่ายโอนได้ จึงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดที่จะต้องมาร้องขอต่อศาล
ผู้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินซึ่งมีชื่อผู้อื่นเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ในทะเบียนที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนให้ปรากฏในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ ย่อมไม่อาจดำเนินการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์ได้ และอาจเสียสิทธิไปได้ถ้ามีบุคคลอื่นได้สิทธิในที่ดินนั้นโดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริตกับได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตดังนั้น เพื่อได้ให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองตามสิทธิของตนที่มีอยู่ในฐานะเจ้าของ กรรมสิทธิ์ จึงจำเป็นต้องดำเนินการให้ปรากฏขึ้นในทะเบียนที่ดินว่าตนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และกฎกระทรวงฉบับที่ 7(พ.ศ.2497) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพ.ศ.2497 กำหนดว่าผู้ได้มาต้องยื่นคำขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่พร้อมด้วยคำพิพากษาหรือคำสั่งอันถึงที่สุดว่าตนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวดังนั้น บุคคลที่ได้กรรมสิทธิ์ที่ดินตามมาตรา 1382 จึงมีความจำเป็นจะต้องใช้สิทธิทางศาลเพื่อให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่า ตนได้กรรมสิทธิ์เพื่อนำไปแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการจดทะเบียนส่วนที่ดินประเภทที่ยังไม่ได้จดทะเบียนไว้ในทะเบียนที่ดินไม่มีกฎหมายบัญญัติดังกล่าวและผู้ยึดถือที่ดินดังกล่าวโดยเจตนายึดถือเพื่อตนย่อมได้สิทธิครอบครองที่ดินนั้นแล้วตามมาตรา 1367ทั้งกฎหมายก็ให้ความรับรองคุ้มครองสิทธิครอบครองและจำหน่ายจ่ายโอนได้ จึงไม่มีความจำเป็นแต่ประการใดที่จะต้องมาร้องขอต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3030/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดทรัพย์ก่อนขายทอดตลาด: การตีความ 'ก่อนที่ได้เอาทรัพย์สินออกขายทอดตลาด' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำว่า "ก่อนที่ได้เอาทรัพย์สินเช่นว่านี้ออกขายทอดตลาด "ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 หมายความถึงการขายทอดตลาดบริบูรณ์โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีมีการตกลงด้วยการเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งตามจารีตประเพณีในการขายทอดตลาด หรือศาลมีคำสั่งให้ขายแล้ว
เจ้าพนักงานบังคับคดีเพียงแต่นำเรือนพิพาทออกดำเนินการขายทอดตลาด 2 ครั้งแล้วเลื่อนไปประกาศขายทอดตลาดอีกเป็นครั้งที่สามการดำเนินการขายทอดตลาดทั้งสองครั้งยังถือไม่ได้ว่าเป็นการขายทอดตลาดผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขัดทรัพย์ก่อนการขายทอดตลาดในครั้งที่สามได้
เจ้าพนักงานบังคับคดีเพียงแต่นำเรือนพิพาทออกดำเนินการขายทอดตลาด 2 ครั้งแล้วเลื่อนไปประกาศขายทอดตลาดอีกเป็นครั้งที่สามการดำเนินการขายทอดตลาดทั้งสองครั้งยังถือไม่ได้ว่าเป็นการขายทอดตลาดผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขัดทรัพย์ก่อนการขายทอดตลาดในครั้งที่สามได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3030/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขัดทรัพย์ก่อนขายทอดตลาด: การตีความ 'ก่อนที่ได้เอาทรัพย์สินออกขายทอดตลาด' และการคุ้มครองผู้ซื้อสุจริต
คำว่า "ก่อนที่ได้เอาทรัพย์สินเช่นว่านี้ออกขายทอดตลาด"ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 หมายความถึงการขายทอดตลาดบริบูรณ์โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีมีการตกลงด้วยการเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งตามจารีตประเพณีในการขายทอดตลาด หรือศาลมีคำสั่งให้ขายแล้ว
เจ้าพนักงานบังคับคดีเพียงแต่นำเรือนพิพาทออกดำเนินการขายทอดตลาด 2 ครั้งแล้วเลื่อนไปประกาศขายทอดตลาดอีกเป็นครั้งที่สาม การดำเนินการขายทอดตลาดทั้งสองครั้งยังถือไม่ได้ว่าเป็นการขายทอดตลาด ผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขัดทรัพย์ก่อนการขายทอดตลาดในครั้งที่สามได้
เจ้าพนักงานบังคับคดีเพียงแต่นำเรือนพิพาทออกดำเนินการขายทอดตลาด 2 ครั้งแล้วเลื่อนไปประกาศขายทอดตลาดอีกเป็นครั้งที่สาม การดำเนินการขายทอดตลาดทั้งสองครั้งยังถือไม่ได้ว่าเป็นการขายทอดตลาด ผู้ร้องจึงมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขัดทรัพย์ก่อนการขายทอดตลาดในครั้งที่สามได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3024/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธุรกิจเงินทุนและการประกอบธุรกิจตาม พ.ร.บ. ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 มาตรา 4 หมายความว่าเป็นการให้กู้ยืมเงินใน ระยะสั้นเป็นทางค้าปกติคือให้กู้ยืมเงินมีกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ไม่เกินหนึ่ง ปีนับแต่วันให้กู้ยืม จะมีหลักทรัพย์เป็นประกันโดยการจำนอง จำนำ หรือค้ำประกันด้วยบุคคลหรือไม่มีหลักประกันดังกล่าวเลยก็ได้ ส่วนกิจการเครดิตฟองซิเอร์นั้นหมายความว่า กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปกติ ไม่จำกัดว่าต้องเป็นการให้กู้ยืมเงินระยะสั้นแต่จำกัดว่าต้องมีหลักทรัพย์เป็นอสังหาริมทรัพย์มาจำนองเป็นประกันเงินกู้เท่านั้น จะเอาอสังหาริมทรัพย์มาจำนำหรือเอาบุคคลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้นั้นไม่ได้ การที่โจทก์ให้จำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมและจำเลยที่ 1 ยังนำที่ดินมาจำนองเป็นประกันเงินกู้อีกด้วยจึง เป็นการประกอบธุรกิจเงินทุนที่โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังดังกล่าวแล้ว ไม่ตกเป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3024/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตธุรกิจเงินทุนและเครดิตฟองซิเอร์: การให้กู้ยืมเงินที่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน
โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ ซึ่งตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ.2522 มาตรา 4 หมายความว่าเป็นการให้กู้ยืมเงินใน ระยะสั้นเป็นทางค้าปกติ คือให้กู้ยืมเงินมีกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ไม่เกินหนึ่ง ปีนับแต่วันให้กู้ยืม จะมีหลักทรัพย์เป็นประกันโดยการจำนอง จำนำ หรือค้ำประกันด้วยบุคคลหรือไม่มีหลักประกันดังกล่าวเลยก็ได้ ส่วนกิจการเครดิตฟองซิเอร์นั้นหมายความว่า กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปกติ ไม่จำกัดว่าต้องเป็นการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น แต่จำกัดว่าต้องมีหลักทรัพย์เป็นอสังหาริมทรัพย์มาจำนองเป็นประกันเงินกู้เท่านั้น จะเอาอสังหาริมทรัพย์มาจำนำหรือเอาบุคคลเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้นั้นไม่ได้ การที่โจทก์ให้จำเลยที่ 1 กู้ยืมเงินโดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันและยอมรับผิดในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วม และจำเลยที่1 ยังนำที่ดินมาจำนองเป็นประกันเงินกู้อีกด้วย จึง เป็นการประกอบธุรกิจเงินทุนที่โจทก์ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังดังกล่าวแล้ว ไม่ตกเป็นโมฆะ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2923/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเข้าเป็นคู่ความของผู้ร้องสอดในคดีเพิกถอนนิติกรรม กรณีหนังสือมอบอำนาจเป็นของแท้และชำระเงินครบถ้วน
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ปลอมใบมอบอำนาจของโจทก์โอนขายที่ดินของโจทก์แก่จำเลยที่ 2 ขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรม ต่อมาโจทก์ถอนฟ้องจำเลยที่ 1 ผู้ร้องสอด (จำเลยที่ 1) ยื่นคำร้องอ้างว่า หนังสือมอบอำนาจเป็นหนังสืออันแท้จริงและผู้ร้องสอดได้ชำระเงินค่าที่ดินให้โจทก์ครบถ้วนแล้ว แต่โจทก์กลับมาฟ้องจำเลยที่ 2 เป็นคดีนี้จึงจำเป็นที่ผู้ร้องสอดจะต้องร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อยังให้ได้รับความรับรอง คุ้มครองหรือบังคับตามสิทธิของผู้ร้องที่มีอยู่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ได้ทำไว้กับโจทก์ดังนี้ผู้ร้องสอดย่อมมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขอเข้าเป็นคู่ความฝ่ายที่สามเพื่อต่อสู้คดีกับโจทก์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 57 (1) ได้
ผู้ร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่สามเพื่อต่อสู้คดีกับโจทก์ เป็นการเข้ามาในฐานะเป็นจำเลยย่อมไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาล
ผู้ร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่สามเพื่อต่อสู้คดีกับโจทก์ เป็นการเข้ามาในฐานะเป็นจำเลยย่อมไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2923/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเข้าเป็นคู่ความของผู้ร้องสอดในคดีเพิกถอนนิติกรรม โดยอ้างสิทธิในสัญญาจะซื้อขาย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยที่ 1 ปลอมใบมอบอำนาจของโจทก์โอนขายที่ดินของโจทก์แก่จำเลยที่ 2 ขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมต่อมาโจทก์ถอนฟ้องจำเลยที่ 1ผู้ร้องสอด (จำเลยที่ 1)ยื่นคำร้องอ้างว่า หนังสือมอบอำนาจเป็นหนังสืออันแท้จริงและผู้ร้องสอดได้ชำระเงินค่าที่ดินให้โจทก์ครบถ้วนแล้ว แต่โจทก์กลับมาฟ้องจำเลยที่ 2 เป็นคดีนี้จึงจำเป็นที่ผู้ร้องสอดจะต้องร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความเพื่อยังให้ได้รับความรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับตามสิทธิของผู้ร้องที่มีอยู่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ได้ทำไว้กับโจทก์ดังนี้ผู้ร้องสอดย่อมมีสิทธิที่จะยื่นคำร้องขอเข้าเป็นคู่ความฝ่ายที่สามเพื่อต่อสู้คดีกับโจทก์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 57(1) ได้ ผู้ร้องสอดเข้ามาเป็นคู่ความฝ่ายที่สามเพื่อต่อสู้คดีกับโจทก์ เป็นการเข้ามาในฐานะเป็นจำเลยย่อมไม่ต้องเสียค่าขึ้นศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2872/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ตัวการเก็บหาของป่าหวงห้าม แม้ไม่ได้เก็บเองแต่รับซื้อและเคลื่อนย้ายก็มีความผิดตามกฎหมายป่าไม้
จำเลยรับซื้อถ่านไม้อันเป็นของป่าหวงห้ามแล้วพาถ่านไม้นั้นไปเสียให้พ้นพาเคลื่อนที่จากป่า โดยจำเลยรู้อยู่แล้วว่าถ่านไม้ ดังกล่าวเป็นของป่าหวงห้ามที่มีผู้ได้มาโดยการกระทำผิดฐาน เก็บหาของป่าหวงห้ามโดยไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ และ มิได้เสียค่าภาคหลวงอันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย จำเลยจึงมีความผิดฐานเป็นตัวการเก็บหาของป่าตามพระราชบัญญัติป่าไม้พุทธศักราช 2484 มาตรา 29, 70