พบผลลัพธ์ทั้งหมด 2 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3376/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำสัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินเด็กต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนก่อน จึงจะมีผลผูกพัน
การทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 ผู้ใช้อำนาจปกครองจะทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาลก่อน และศาลดังกล่าวนั้นจะต้องเป็นศาลที่มีอำนาจอนุญาตด้วย
ขณะที่ผู้ใช้อำนาจปกครองทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กในศาลแพ่ง ศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเปิดดำเนินการแล้ว ผู้ใช้อำนาจปกครองจึงต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 มาตรา 8 ก่อนมิฉะนั้นเป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคำพิพากษาตามยอม ไม่ผูกพันเด็ก ไม่ว่าเด็กจะรู้เห็นยินยอมหรือไม่
โจทก์ฟ้องคดีขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองกับจำเลยร่วมเป็นโมฆะ และให้เพิกถอนเสีย การที่ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความไม่มีผลผูกพันเด็กนั้น ไม่เป็นการพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คดีที่พนักงานอัยการฟ้องเพื่อประโยชน์ของเด็กในฐานะโจทก์มิใช่ฐานะทนายความ ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความแก่พนักงานอัยการ
ขณะที่ผู้ใช้อำนาจปกครองทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กในศาลแพ่ง ศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเปิดดำเนินการแล้ว ผู้ใช้อำนาจปกครองจึงต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 มาตรา 8 ก่อนมิฉะนั้นเป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคำพิพากษาตามยอม ไม่ผูกพันเด็ก ไม่ว่าเด็กจะรู้เห็นยินยอมหรือไม่
โจทก์ฟ้องคดีขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองกับจำเลยร่วมเป็นโมฆะ และให้เพิกถอนเสีย การที่ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความไม่มีผลผูกพันเด็กนั้น ไม่เป็นการพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คดีที่พนักงานอัยการฟ้องเพื่อประโยชน์ของเด็กในฐานะโจทก์มิใช่ฐานะทนายความ ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความแก่พนักงานอัยการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3376/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำนิติกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินเด็ก ต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนก่อน จึงจะมีผลผูกพัน
การทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546 ผู้ใช้อำนาจปกครองจะทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาลก่อน และศาลดังกล่าวนั้นจะต้องเป็นศาลที่มีอำนาจอนุญาตด้วย
ขณะที่ผู้ใช้อำนาจปกครองทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กในศาลแพ่ง ศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเปิดดำเนินการแล้วผู้ใช้อำนาจปกครองจึงต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 มาตรา 8 ก่อนมิฉะนั้นเป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคำพิพากษาตามยอมไม่ผูกพันเด็ก ไม่ว่าเด็กจะรู้เห็นยินยอมหรือไม่
โจทก์ฟ้องคดีขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองกับจำเลยร่วมเป็นโมฆะ และให้เพิกถอนเสียการที่ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความไม่มีผลผูกพันเด็กนั้นไม่เป็นการพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คดีที่พนักงานอัยการฟ้องเพื่อประโยชน์ของเด็กในฐานะโจทก์มิใช่ฐานะทนายความ ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความแก่พนักงานอัยการ
ขณะที่ผู้ใช้อำนาจปกครองทำสัญญาประนีประนอมยอมความเกี่ยวกับทรัพย์สินของเด็กในศาลแพ่ง ศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางเปิดดำเนินการแล้วผู้ใช้อำนาจปกครองจึงต้องได้รับอนุญาตจากศาลคดีเด็กและเยาวชนกลางตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ.2494 มาตรา 8 ก่อนมิฉะนั้นเป็นการขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1546สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวและคำพิพากษาตามยอมไม่ผูกพันเด็ก ไม่ว่าเด็กจะรู้เห็นยินยอมหรือไม่
โจทก์ฟ้องคดีขอให้ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความระหว่างบิดาผู้ใช้อำนาจปกครองกับจำเลยร่วมเป็นโมฆะ และให้เพิกถอนเสียการที่ศาลพิพากษาว่าสัญญาประนีประนอมยอมความไม่มีผลผูกพันเด็กนั้นไม่เป็นการพิพากษาเกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้องตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 142
คดีที่พนักงานอัยการฟ้องเพื่อประโยชน์ของเด็กในฐานะโจทก์มิใช่ฐานะทนายความ ศาลไม่สั่งให้ค่าทนายความแก่พนักงานอัยการ