พบผลลัพธ์ทั้งหมด 5 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2521
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ต้องมีคำขอ การเปลี่ยนแปลงคำขอในชั้นฎีกาทำไม่ได้ ศาลต้องพิจารณาตามคำขอเดิม
การริบทรัพย์เป็นโทษอย่างหนึ่ง การจะริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33 เป็นเรื่องอยู่ในดุลพินิจของศาล
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้นการที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้นการที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 651/2521 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบทรัพย์ต้องมีคำขอ ศาลไม่สามารถริบของกลางเกินคำขอได้
การริบทรัพย์เป็นโทษอย่างหนึ่ง การจะริบทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 33 เป็นเรื่องอยู่ในดุลพินิจของศาล
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท 2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้น การที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
เมื่อโจทก์มิได้มีคำขอให้ริบธนบัตรของกลาง ศาลริบธนบัตรนั้นไม่ได้ เพราะเป็นการพิพากษาเกินคำขอ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 192 วรรคแรก
โจทก์บรรยายฟ้องว่า จำเลยมีเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ไว้เพื่อจำหน่ายและจำหน่ายเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์ เจ้าพนักงานจับจำเลยได้พร้อมด้วยเฮโรอีนไฮโดรคลอไรด์และธนบัตรฉบับละ 10 บาท 2 ฉบับที่เป็นธนบัตรของเจ้าพนักงานตำรวจมอบให้ผู้มีชื่อไปซื้อจากจำเลย และขอให้คืนธนบัตรดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานตำรวจ ในชั้นอุทธรณ์โจทก์ก็ยืนยันเช่นนั้น การที่โจทก์ฎีกาว่าธนบัตรของกลางเป็นทรัพย์ของจำเลยได้มาจากการกระทำผิดจึงนอกฟ้อง และโจทก์เพิ่มเติมคำขอให้ริบของกลางเข้ามาในชั้นฎีกาไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 923/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบเรือยนต์ที่ใช้เป็นพาหนะในการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
เรือยนต์ของกลางที่จำเลย ใช้เป็นพาหนะไปนำเอาเฮโรอีนของกลางบรรจุถุงพลาสติกแล้วห่อด้วยถุงกระดาษอีกชั้นหนึ่งใส่มาในลังเครื่องมือซึ่งจำเลยใช้เป็นที่นั่งขับเรือถือได้ว่าเป็นยานพาหนะที่จำเลยได้ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับเฮโรอีน จึงเป็นของต้องริบตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2465 มาตรา 29 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2504 มาตรา 12
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1494/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความถูกต้องในการปรับบทลงโทษคดีเกี่ยวกับยาเสพติด และอำนาจศาลในการแก้ไขโทษจำเลยที่ไม่ได้อุทธรณ์
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามฐานร่วมกันมีเฮโรอีนไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยทั้งสามตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ19,20 ทวิ,20 ตรี,29 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 4,6,7,12 จำเลยที่2 ที่ 3 อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์เห็นว่า จำเลยที่ 2ที่ 3 ร่วมกับจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงตามฟ้อง แต่ศาลชั้นต้นปรับบทลงโทษจำเลยไม่ถูกต้องพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้น เป็นว่า จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ,14,20 ทวิ,29 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ(ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2504 มาตรา 4,6,7,12 ดังนี้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ยังไม่ถูกต้อง เพราะเมื่อศาลอุทธรณ์ไม่พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี (ฐานรับไว้หรือมีไว้ซึ่งเฮโรอีน) ก็ต้องไม่พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 7 อันเป็นบทบัญญัติที่เพิ่มเติมมาตรา 20 ตรี ไว้ในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 ศาลฎีกาพิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยทั้งสามมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ,14,20 ทวิพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 4,6(ตัดมาตรา 29 และ 12 ของพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับออกเสียด้วย เพราะของกลางที่ริบมีแต่เฮโรอีน ซึ่งมิได้ริบโดยอาศัยมาตรา 29 และ 12)
การที่ไม่ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2504 มาตรา 7 นั้น เป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาให้มิต้องถูกรับโทษตามมาตราดังกล่าว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213 ประกอบด้วยมาตรา225
การที่ไม่ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2504 มาตรา 7 นั้น เป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดี ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาให้มิต้องถูกรับโทษตามมาตราดังกล่าว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213 ประกอบด้วยมาตรา225
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1494/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปรับบทลงโทษในคดียาเสพติด: ความถูกต้องและขอบเขตอำนาจศาลในการแก้ไขโทษ
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยทั้งสามฐานร่วมกันมีเฮโรอีนไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำเลยทั้งสามตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ, 19, 20 ทวิ, 20 ตรี, 29 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 4, 6, 7, 12 จำเลยที่ 2 ที่ 3 อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์เห็นว่า จำเลยที่ 2 ที่ 3 ร่วมกับจำเลยที่ 1 กระทำผิดจริงตามฟ้อง แต่ศาลชั้นต้นปรับบทลงโทษจำเลยไม่ถูกต้องพิพากษาแก้คำพิพากษาศาลชั้นต้น เป็นว่า จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ, 14, 20 ทวิ, 29 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 4, 6, 7, 12 ดังนี้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ยังไม่ถูกต้อง เพราะเมื่อศาลอุทธรณ์ไม่พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี (ฐานรับไว้หรือมีไว้ซึ่งเฮโรอีน) ก็ต้องไม่พิพากษาว่าจำเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 7 อันเป็นบทบัญญัติที่เพิ่มเติมมาตรา 20 ตรีไว้ในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 ศาลฎีกาพิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยทั้งสามมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ. 2465 มาตรา 4 ทวิ, 14, 20 ทวิพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2504 มาตรา 4, 6 (ตัดมาตรา 29 และ 12 ของพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับออกเสียด้วย เพราะของกลางที่ริบมีแต่เฮโรอีน ซึ่งมิได้ริบโดยอาศัยมาตรา 29 และ 12)
การที่ไม่ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2504 มาตรา 7 นั้น เป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดีศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาให้มิต้องถูกรับโทษตามมาตราดังกล่าว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213 ประกอบด้วยมาตรา225
การที่ไม่ลงโทษจำเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2465 มาตรา 20 ตรี ซึ่งเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2504 มาตรา 7 นั้น เป็นเหตุอยู่ในส่วนลักษณะคดีศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้อุทธรณ์ฎีกาให้มิต้องถูกรับโทษตามมาตราดังกล่าว ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 213 ประกอบด้วยมาตรา225