คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับผู้พิพากษา
เฉลิม การปลื้มจิตต์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 367 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2012/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ จำนองประกันหนี้ลูกหนี้ร่วมและหนี้ค้ำประกัน แม้คดีขาดอายุความแต่บังคับชำระจากที่ดินจำนองได้
จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชีกับโจทก์ โดยมีอ.เป็นผู้ค้ำประกันรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม และ อ. ได้นำที่ดินมาจำนองประกันหนี้ของจำเลยที่ 1 และหนี้ตามสัญญาค้ำประกันของ อ. ด้วย อ. ถึงแก่กรรมมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดก แม้โจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 2 รับผิดตามสัญญาค้ำประกันเกิน 1 ปีนับแต่ อ. ถึงแก่กรรม คดีขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 แล้วก็ตาม แต่โจทก์ในฐานะผู้รับจำนองก็ยังคงฟ้องบังคับชำระหนี้ตามสัญญาค้ำประกันดังกล่าวจากที่ดินที่จำนองได้ ตามมาตรา 189 และมาตรา 745

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกค่าจ้างจากผู้รับเหมา: 2 ปี ตาม ป.พ.พ. มาตรา 165(7) และการนับอายุความละเมิด
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลย ถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7)
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกร้องค่าจ้างเหมาและผลกระทบจากมติคณะรัฐมนตรีปรับราคาค่างาน
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลยถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7) ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์ เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7) จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างานโจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไปหาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้น การละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่ โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1975/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความฟ้องเรียกร้องค่าจ้างจากผู้รับเหมา: 2 ปี ตามมาตรา 165(7) และการนับอายุความละเมิด
โจทก์เป็นผู้รับเหมาทำการก่อสร้างให้จำเลย โจทก์ใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในผลงานก่อสร้างจากจำเลยถือได้ว่าโจทก์เป็นผู้ค้าฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างในกิจการนั้น จึงต้องใช้สิทธิฟ้องร้องในอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7)
ในกรณีมีมติคณะรัฐมนตรีให้ปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างตามดัชนีราคาสินค้าที่สูงขึ้นโดยให้คำนวณ ณ วันที่มีการส่งมอบงานเป็นเกณฑ์เงินเพิ่มปรับราคาค่างานรายการก่อสร้างจึงมิใช่ค่าตอบแทนที่มีข้อผูกพันกันตามสัญญาจ้างเหมาทำการก่อสร้างที่โจทก์กับจำเลยตกลงทำกันไว้แต่เดิม หากแต่เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างหรือสินจ้างที่เพิ่มขึ้นจากผลงานที่โจทก์พึงได้รับตามมติคณะรัฐมนตรี การฟ้องเรียกร้องเงินเพิ่มค่างานจึงเสมือนฟ้องเรียกร้องเอาค่าจ้างหรือสินจ้างจากผู้ว่าจ้าง ซึ่งอยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(7)
จำเลยมีหนังสือไปถึงสำนักงบประมาณขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจ่ายเงินเพิ่มค่างานสำหรับงานงวดสุดท้ายให้โจทก์หนังสือดังกล่าวเป็นเพียงหนังสือที่จำเลยติดต่อหารือไปยังสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ไม่ปรากฏว่าจำเลยยอมจะชำระเงินเพิ่มค่างานให้ตามหนังสือนั้นและจำเลยมิได้มีหนังสือดังกล่าวไปถึงโจทก์ จึงไม่เป็นการรับสภาพหนี้อันเป็นเหตุให้อายุความสะดุดหยุดลง
โจทก์มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชำระเงินเพิ่มค่างานนับแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป แม้การหน่วงเหนี่ยวไม่ชำระเงินเพิ่มค่างานอาจเป็นการละเมิดต่อโจทก์ แต่คดีโจทก์ในส่วนที่เกี่ยวกับความเสียหายอันเกิดจากการหน่วงเหนี่ยวไม่ยอมชำระเงินเพิ่มค่างาน โจทก์ก็อาจบังคับสิทธิเรียกร้องเอาแก่จำเลยที่ 2 ได้ทันทีอายุความต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่โจทก์ส่งมอบงานเป็นต้นไป หาใช่ตราบใดที่โจทก์ยังไม่ได้รับชำระเงินเพิ่มตราบนั้นการละเมิดยังคงมีอยู่ต่อเนื่องกันตลอดไปไม่โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ 2 เมื่อเกิน 1 ปีแล้ว คดีโจทก์ขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 448.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1950/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การแบ่งแยกกรรมสิทธิ์รวมในที่ดิน การครอบครองปรปักษ์ และการพิสูจน์สิทธิในที่ดิน
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์มีชื่อในโฉนดร่วมกับจำเลยและผู้มีชื่อตามที่ระบุไว้ในคำฟ้องโดยโจทก์ได้รับการยกให้จากมารดาและโจทก์ได้เข้าครอบครองที่พิพาทปรากฏเขตตามแผนที่สังเขปท้ายฟ้องเป็นส่วนสัดมากว่า 10 ปี จำเลยไม่ยอมแบ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่โจทก์ครอบครองให้โจทก์ ดังนี้ เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลย ล.และท.ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันแต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อร.ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นพี่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่ จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1950/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องแบ่งกรรมสิทธิ์ร่วม การครอบครองปรปักษ์ และผลของการคัดค้านการแบ่งแยกโฉนด
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์มีชื่อในโฉนดร่วมกับจำเลยและผู้มีชื่อตามที่ระบุไว้ในคำฟ้องโดยโจทก์ได้รับการยกให้จากมารดา และโจทก์ได้เข้าครอบครองที่พิพาทปรากฏเขตตามแผนที่สังเขปท้ายฟ้องเป็นส่วนสัดมากกว่า 10 ปี จำเลยไม่ยอมแย่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่โจทก์ครอบครองให้โจทก์ดังนี้ เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1950/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ร่วม: การครอบครองปรปักษ์ การยกสิทธิ และการโต้แย้งสิทธิ
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์มีชื่อในโฉนดร่วมกับจำเลยและผู้มีชื่อตามที่ระบุไว้ในคำฟ้องโดยโจทก์ได้รับการยกให้จากมารดา และโจทก์ได้เข้าครอบครองที่พิพาทปรากฏเขตตามแผนที่สังเขปท้ายฟ้องเป็นส่วนสัดมากกว่า 10 ปี จำเลยไม่ยอมแย่งกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่โจทก์ครอบครองให้โจทก์ดังนี้เป็นฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
แม้ฟ้องโจทก์จะบรรยายว่า โฉนดที่พิพาทมีชื่อโจทก์จำเลยล. และ ท. ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน แต่ในทางพิจารณาได้ความว่ามีชื่อ ร. ในโฉนดที่พิพาทด้วย ก็ไม่ถือว่าข้อเท็จจริงที่ได้ความในทางพิจารณาแตกต่างไปจากฟ้องเพราะ ร. ซึ่งมีชื่อในโฉนดที่พิพาทด้วยเป็นที่จำเลยได้รับมรดกที่พิพาทจากบิดามารดาเช่นเดียวกับจำเลยแต่บวชเป็นพระภิกษุ ไม่เคยครอบครองที่พิพาทและได้ยกกรรมสิทธิ์ส่วนของตนให้จำเลยก่อนโจทก์ฟ้องแล้ว ดังนั้นจึงหาเกี่ยวกับที่พิพาทในส่วนที่โจทก์ได้รับการยกให้และครอบครองมากกว่า 10 ปีไม่จึงไม่ทำให้ฟ้องเสียไปแต่อย่างใด เมื่อจำเลยคัดค้านการแบ่งแยกโฉนดพิพาท ย่อมเป็นการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์จึงมีอำนาจฟ้อง.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2531 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การลดอัตราภาษีสินค้าที่นอนและหมอนที่ผลิตจากฟองน้ำเทียม ไม่เข้าข่ายตามบัญชี 1 หมวด 5(10) หรือหมวด 9
สินค้าที่นอนและหมอนของโจทก์ซึ่งผลิตจากฟองน้ำเทียม ไม่ใช่สินค้าอื่น ๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เฉพาะที่ผลิตจากพลาสติกตามบัญชี 1 หมวด 9 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรา และยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่ 54) พ.ศ. 2517เพราะสินค้าที่นอนและหมอนกฎหมายได้บัญญัติไว้แล้วในบัญชีที่ 2หมวด 2 เพียงแต่กฎหมายในขณะพิพาทประสงค์ลดภาษีเฉพาะที่นอนและหมอนที่ยัดปุยนุ่นหรือปุยจากต้นไม้อย่างอื่น ดังนั้นสินค้าของโจทก์จึงไม่อยู่ในบัญชีใด ๆ ท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ฟองน้ำเทียมตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวย่อมหมายถึงฟองน้ำเทียมโดยตัวเอง หาได้มีความหมายรวมถึงสิ่งของที่ผลิตเป็นสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้นโดยใช้ฟองน้ำเทียมเป็นส่วนประกอบด้วยไม่ เพราะมิฉะนั้นจะกลายเป็นว่าผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซึ่งถือเป็นผู้ผลิตสินค้าอันจะต้องเสียภาษีการค้าในฐานะผู้ผลิตอยู่แล้ว เมื่อโจทก์นำฟ้องน้ำเทียมมาผลิตสินค้าเป็นที่นอนและหมอน ย่อมเห็นได้ชัดว่าโจทก์ย่อมไม่ใช่ผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซ้ำอีก

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2531 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตีความข้อยกเว้นภาษีสินค้าที่นอนและหมอนที่ผลิตจากฟองน้ำเทียม ไม่เข้าข่ายตามบัญชีที่ 1 แห่งพระราชกฤษฎีกา
สินค้าที่นอนและหมอนของโจทก์ซึ่งผลิตจากฟองน้ำเทียม ไม่ใช่สินค้าอื่น ๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เฉพาะที่ผลิตจากพลาสติกตามบัญชี 1 หมวด 9 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่54) พ.ศ. 2517 เพราะสินค้าที่นอนและหมอนกฎหมายได้บัญญัติไว้แล้วในบัญชีที่ 2 หมวด 2 เพียงแต่กฎหมายในขณะพิพาทประสงค์ลดภาษีเฉพาะที่นอนและหมอนที่ยัดปุยนุ่นหรือปุยจากต้นไม้อย่างอื่น ดังนั้นสินค้าของโจทก์จึงไม่อยู่ในบัญชีใด ๆ ท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว
ฟองน้ำเทียมตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวย่อมหมายถึงฟองน้ำเทียมโดยตัวเอง หาได้มีความหมายรวมถึงสิ่งของที่ผลิตเป็นสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้นโดยใช้ฟองน้ำเทียมเป็นส่วนประกอบด้วยไม่ เพราะมิฉะนั้นจะกลายเป็นว่าผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซึ่งถือเป็นผู้ผลิตสินค้าอันจะต้องเสียภาษีการค้าในฐานะผู้ผลิตอยู่แล้ว เมื่อโจทก์นำฟองน้ำเทียมมาผลิตสินค้าเป็นที่นอนและหมอน ย่อมเห็นได้ชัดว่าโจทก์ย่อมไม่ใช่ผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซ้ำอีก.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1899/2531

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การตีความประเภทสินค้าเพื่อเสียภาษี: ที่นอน/หมอนฟองน้ำเทียม ไม่จัดเป็นสินค้าลดหย่อนตาม พ.ร.ก.ภาษีอากร
สินค้าที่นอนและหมอนของโจทก์ซึ่งผลิตจากฟองน้ำเทียม ไม่ใช่สินค้าอื่น ๆ เครื่องมือ เครื่องใช้ เฉพาะที่ผลิตจากพลาสติกตามบัญชี 1 หมวด 9 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นภาษีการค้า (ฉบับที่54) พ.ศ. 2517เพราะสินค้าที่นอนและหมอนกฎหมายได้บัญญัติไว้แล้วในบัญชีที่ 2 หมวด 2 เพียงแต่กฎหมายในขณะพิพาทประสงค์ลดภาษีเฉพาะที่นอนและหมอนที่ยัดปุยนุ่นหรือปุยจากต้นไม้อย่างอื่นดังนั้นสินค้าของโจทก์จึงไม่อยู่ในบัญชีใด ๆ ท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว
ฟองน้ำเทียมตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวย่อมหมายถึงฟองน้ำเทียมโดยตัวเอง หาได้มีความหมายรวมถึงสิ่งของที่ผลิตเป็นสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้นโดยใช้ฟองน้ำเทียมเป็นส่วนประกอบด้วยไม่ เพราะมิฉะนั้นจะกลายเป็นว่าผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซึ่งถือเป็นผู้ผลิตสินค้าอันจะต้องเสียภาษีการค้าในฐานะผู้ผลิตอยู่แล้ว เมื่อโจทก์นำฟองน้ำเทียมมาผลิตสินค้าเป็นที่นอนและหมอน ย่อมเห็นได้ชัดว่าโจทก์ย่อมไม่ใช่ผู้ผลิตฟองน้ำเทียมซ้ำอีก.
of 37