พบผลลัพธ์ทั้งหมด 329 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3976/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีของกรรมการสมาคม/มูลนิธิ: ผู้จัดการเท่านั้นที่มีอำนาจฟ้องแทน
เมื่อมีข้อโต้แย้งสิทธิของสมาคมและมูลนิธิ ผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนคือผู้จัดการสมาคมและมูลนิธิซึ่งเป็นผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล กรรมการสมาคมและมูลนิธิไม่มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องคดี
การฟ้องคดีแพ่ง มิใช่เป็นการทำนิติกรรม เพราะมิได้มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 112 หากแต่เป็นกรณีที่ฟ้องขอให้บังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่แล้วและถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ดังนั้น แม้ตราสารของมูลนิธิจะให้อำนาจโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการของมูลนิธิ ทำนิติกรรมของมูลนิธิได้ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
การฟ้องคดีแพ่ง มิใช่เป็นการทำนิติกรรม เพราะมิได้มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 112 หากแต่เป็นกรณีที่ฟ้องขอให้บังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่แล้วและถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ดังนั้น แม้ตราสารของมูลนิธิจะให้อำนาจโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการของมูลนิธิ ทำนิติกรรมของมูลนิธิได้ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3976/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีของกรรมการสมาคม/มูลนิธิ: ผู้จัดการเท่านั้นที่มีอำนาจฟ้องแทน
เมื่อมีข้อโต้แย้งสิทธิของสมาคมและมูลนิธิ ผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนคือผู้จัดการสมาคมและมูลนิธิซึ่งเป็นผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล กรรมการสมาคมและมุลนิธิไม่มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล ย่อมไม่มีอำนาจฟ้องคดี
การฟ้องคดีแพ่ง มิใช่เป็นการทำนิติกรรม เพราะมิได้มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 112 หากแต่เป็นกรณีที่ฟ้องขอให้บังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่แล้วและถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ดังนั้น แม้ตราสารของมูลนิธิจะให้อำนาจโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการของมูลนิธิทำนิติกรรมของมูลนิธิได้ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
การฟ้องคดีแพ่ง มิใช่เป็นการทำนิติกรรม เพราะมิได้มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลเพื่อจะก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 112 หากแต่เป็นกรณีที่ฟ้องขอให้บังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่แล้วและถูกโต้แย้งสิทธิตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 ดังนั้น แม้ตราสารของมูลนิธิจะให้อำนาจโจทก์ซึ่งเป็นกรรมการของมูลนิธิทำนิติกรรมของมูลนิธิได้ โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3969/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกิจการเช่าซื้อ, สิทธิเรียกร้อง, และการสละเงื่อนเวลาชำระหนี้
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์บรรทุกจากห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ซึ่งมีจำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ ในระหว่างผ่อนชำระค่าเช่าซื้อจำเลยที่ 2 ได้จัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 ขึ้น โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ มีวัตถุประสงค์ซื้อขายแลกเปลี่ยนรถยนต์เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ซึ่งต่อมาได้มีการจดทะเบียนเลิกห้างหุ้นส่วนจำกัด หลังจากนั้นห้างจำเลยที่ 1 ได้มีหนังสือทวงถามค่าเช่าซื้อรถยนต์และรับชำระหนี้จากโจทก์ โดยตามเอกสารใบแจ้งหนี้ที่หัวกระดาษมีข้อความระบุชื่อห้างจำเลยที่ 1 และได้ระบุชื่อห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ในวงเล็บต่อท้ายด้วย ดังนี้ ฟังได้ว่า ห้างจำเลยที่ 1 ได้รับโอนกิจการมาจากห้างหุ้นส่วนจำกัด น. โจทก์มีอำนาจฟ้องห้างจำเลยที่ 1 ให้รับผิดตามสัญญาเช่าซื้อที่ทำไว้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ได้
สัญญาเช่าซื้อรถยนต์กำหนดให้โจทก์ผ่อนชำระค่าเช่าซื้อให้จำเลยรวม 20 งวด เป็นรายเดือนทุกเดือน ถ้าหากผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามกำหนด จะต้องเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี แต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าในการชำระค่าเช่าซื้อให้แก่จำเลย โจทก์เป็นฝ่ายผิดนัดทุกงวด แต่จำเลยก็ไม่เคยใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระหนี้และดอกเบี้ยที่ค้างเลย แสดงว่าการชำระหนี้รายนี้ฝ่ายจำเลยมิได้เจตนาถือเอากำหนดเวลาชำระหนี้ตามสัญญาโดยเคร่งครัด ซึ่งเท่ากับเป็นการสละเงื่อนเวลาอยู่ในตัวดังนั้นเมื่อโจทก์ชำระค่าเช่าซื้อครบถ้วนแล้ว จำเลยจะมาขอคิดดอกเบี้ยเป็นการเพิ่มภาระให้โจทก์ภายหลังไม่ได้ จำเลยจึงต้องโอนรถยนต์ตามสัญญาเช่าซื้อให้โจทก์โดยโจทก์ไม่ต้องรับผิดเรื่องดอกเบี้ยอีกต่อไป
สัญญาเช่าซื้อรถยนต์กำหนดให้โจทก์ผ่อนชำระค่าเช่าซื้อให้จำเลยรวม 20 งวด เป็นรายเดือนทุกเดือน ถ้าหากผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามกำหนด จะต้องเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี แต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าในการชำระค่าเช่าซื้อให้แก่จำเลย โจทก์เป็นฝ่ายผิดนัดทุกงวด แต่จำเลยก็ไม่เคยใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระหนี้และดอกเบี้ยที่ค้างเลย แสดงว่าการชำระหนี้รายนี้ฝ่ายจำเลยมิได้เจตนาถือเอากำหนดเวลาชำระหนี้ตามสัญญาโดยเคร่งครัด ซึ่งเท่ากับเป็นการสละเงื่อนเวลาอยู่ในตัวดังนั้นเมื่อโจทก์ชำระค่าเช่าซื้อครบถ้วนแล้ว จำเลยจะมาขอคิดดอกเบี้ยเป็นการเพิ่มภาระให้โจทก์ภายหลังไม่ได้ จำเลยจึงต้องโอนรถยนต์ตามสัญญาเช่าซื้อให้โจทก์โดยโจทก์ไม่ต้องรับผิดเรื่องดอกเบี้ยอีกต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3969/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกิจการเช่าซื้อ, สละเงื่อนเวลาชำระหนี้, และการบังคับคดีตามสัญญา
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์บรรทุกจากห้างหุ้นส่วนจำกัดน.ซึ่งมีจำเลยที่2เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการในระหว่างผ่อนชำระค่าเช่าซื้อจำเลยที่2ได้จัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่1ขึ้นโดยมีจำเลยที่2เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการมีวัตถุประสงค์ซื้อขายแลกเปลี่ยนรถยนต์เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนจำกัดน.ซึ่งต่อมาได้มีการจดทะเบียนเลิกห้างหุ้นส่วนจำกัดหลังจากนั้นห้างจำเลยที่1ได้มีหนังสือทวงถามค่าเช่าซื้อรถยนต์และรับชำระหนี้จากโจทก์โดยตามเอกสารใบแจ้งหนี้ที่หัวกระดาษมีข้อความระบุชื่อห้างจำเลยที่1และได้ระบุชื่อห้างหุ้นส่วนจำกัดน.ในวงเล็บต่อท้ายด้วยดังนี้ฟังได้ว่าห้างจำเลยที่1ได้รับโอนกิจการมาจากห้างหุ้นส่วนจำกัดน.โจทก์มีอำนาจฟ้องห้างจำเลยที่1ให้รับผิดตามสัญญาเช่าซื้อที่ทำไว้กับห้างหุ้นส่วนจำกัดน.ได้ สัญญาเช่าซื้อรถยนต์กำหนดให้โจทก์ผ่อนชำระค่าเช่าซื้อให้จำเลยรวม20งวดเป็นรายเดือนทุกเดือนถ้าหากผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามกำหนดจะต้องเสียดอกเบี้ยร้อยละ15ต่อปีแต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าในการชำระค่าเช่าซื้อให้แก่จำเลยโจทก์เป็นฝ่ายผิดนัดทุกงวดแต่จำเลยก็ไม่เคยใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระหนี้และดอกเบี้ยที่ค้างเลยแสดงว่าการชำระหนี้รายนี้ฝ่ายจำเลยมิได้เจตนาถือเอากำหนดเวลาชำระหนี้ตามสัญญาโดยเคร่งครัดซึ่งเท่ากับเป็นการสละเงื่อนเวลาอยู่ในตัวดังนั้นเมื่อโจทก์ชำระค่าเช่าซื้อครบถ้วนแล้วจำเลยจะมาขอคิดดอกเบี้ยเป็นการเพิ่มภาระให้โจทก์ภายหลังไม่ได้จำเลยจึงต้องโอนรถยนต์ตามสัญญาเช่าซื้อให้โจทก์โดยโจทก์ไม่ต้องรับผิดเรื่องดอกเบี้ยอีกต่อไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3969/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนกิจการเช่าซื้อ, การสละเงื่อนเวลาชำระหนี้, และผลของการผิดนัดชำระหนี้
โจทก์ทำสัญญาเช่าซื้อรถยนต์บรรทุกจากห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ซึ่งมีจำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ ในระหว่างผ่อนชำระค่าเช่าซื้อ จำเลยที่ 2 ได้จัดตั้งห้างหุ้นส่วนจำกัดจำเลยที่ 1 ขึ้น โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการมีวัตถุประสงค์ซื้อขายแลกเปลี่ยนรถยนต์เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ซึ่งต่อมาได้มีการจดทะเบียนเลิกห้างหุ้นส่วนจำกัด หลังจากนั้นห้างจำเลยที่ 1 ได้มีหนังสือทวงถามค่าเช่าซื้อรถยนต์และรับชำระหนี้จากโจทก์ โดยตามเอกสารใบแจ้งหนี้ที่หัวกระดาษมีข้อความระบุชื่อห้างจำเลยที่ 1 และได้ระบุชื่อห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ในวงเล็บต่อท้ายด้วย ดังนี้ฟังได้ว่า ห้างจำเลยที่ 1 ได้รับโอนกิจการมาจากห้างหุ้นส่วนจำกัด น.โจทก์มีอำนาจฟ้องห้างจำเลยที่ 1 ให้รับผิดตามสัญญาเช่าซื้อที่ทำไว้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด น.ได้
สัญญาเช่าซื้อรถยนต์กำหนดให้โจทก์ผ่อนชำระค่าเช่าซื้อให้จำเลยรวม 20 งวด เป็นรายเดือนทุกเดือน ถ้าหากผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามกำหนด จะต้องเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15ต่อปี แต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าในการชำระค่าเช่าซื้อให้แก่จำเลย โจทก์เป็นฝ่ายผิดนัดทุกงวด แต่จำเลยก็ไม่เคยใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระหนี้และดอกเบี้ยที่ค้างเลย แสดงว่าการชำระหนี้รายนี้ฝ่ายจำเลยมิได้เจตนาถือเอากำหนดเวลาชำระหนี้ตามสัญญาโดยเคร่งครัด ซึ่งเท่ากับเป็นการสละเงื่อนเวลาอยู่ในตัวดังนั้นเมื่อโจทก์ชำระค่าเช่าซื้อครบถ้วนแล้ว จำเลยจะมาขอคิดดอกเบี้ยเป็นการเพิ่มภาระให้โจทก์ภายหลังไม่ได้ จำเลยจึงต้องโอนรถยนต์ตามสัญญาเช่าซื้อให้โจทก์ โดยโจทก์ไม่ต้องรับผิดเรื่องดอกเบี้ยอีกต่อไป
สัญญาเช่าซื้อรถยนต์กำหนดให้โจทก์ผ่อนชำระค่าเช่าซื้อให้จำเลยรวม 20 งวด เป็นรายเดือนทุกเดือน ถ้าหากผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อตามกำหนด จะต้องเสียดอกเบี้ยร้อยละ 15ต่อปี แต่ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่าในการชำระค่าเช่าซื้อให้แก่จำเลย โจทก์เป็นฝ่ายผิดนัดทุกงวด แต่จำเลยก็ไม่เคยใช้สิทธิเรียกร้องให้โจทก์ชำระหนี้และดอกเบี้ยที่ค้างเลย แสดงว่าการชำระหนี้รายนี้ฝ่ายจำเลยมิได้เจตนาถือเอากำหนดเวลาชำระหนี้ตามสัญญาโดยเคร่งครัด ซึ่งเท่ากับเป็นการสละเงื่อนเวลาอยู่ในตัวดังนั้นเมื่อโจทก์ชำระค่าเช่าซื้อครบถ้วนแล้ว จำเลยจะมาขอคิดดอกเบี้ยเป็นการเพิ่มภาระให้โจทก์ภายหลังไม่ได้ จำเลยจึงต้องโอนรถยนต์ตามสัญญาเช่าซื้อให้โจทก์ โดยโจทก์ไม่ต้องรับผิดเรื่องดอกเบี้ยอีกต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3925/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินจากการทุจริตและสำคัญผิดในตัวบุคคล ทำให้การโอนเป็นโมฆะ แม้มีการเสียค่าตอบแทน
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนรับซื้อที่ดินจากผู้ที่ปลอมชื่อเป็นเจ้าของที่ดิน ซึ่งลักโฉนดที่ดินมาจากโจทก์ผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริง แล้วจดทะเบียนจำนอง ที่ดินดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ดังนี้ จำเลยที่ 1 ไม่ได้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์ หรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ นิติกรรมซื้อขายเกิดจากการทุจริต โดย โจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วยเป็นการสำคัญผิดในตัวบุคคล อันเป็นสาระสำคัญแห่งนิติกรรมจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 119 ถือเสมือนว่าไม่มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้น แม้การซื้อขายจะทำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และจำเลยที่ 1 ได้เสียค่าตอบแทนโดยสุจริต จำเลยที่ 1 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนการโอนขายที่ดิน ดังกล่าวได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3925/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินจากการทุจริตและการสำคัญผิดในตัวบุคคลทำให้การโอนเป็นโมฆะ
จำเลยที่1จดทะเบียนรับซื้อที่ดินจากผู้ที่ปลอมชื่อเป็นเจ้าของที่ดินซึ่งลักโฉนดที่ดินมาจากโจทก์ผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริงแล้วจดทะเบียนจำนองที่ดินดังกล่าวกับจำเลยที่2ดังนี้จำเลยที่1ไม่ได้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์หรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์นิติกรรมซื้อขายเกิดจากการทุจริตโดยโจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วยเป็นการสำคัญผิดในตัวบุคคลอันเป็นสาระสำคัญแห่งนิติกรรมจึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา119ถือเสมือนว่าไม่มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้นแม้การซื้อขายจะทำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และจำเลยที่1ได้เสียค่าตอบแทนโดยสุจริตจำเลยที่1ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนการโอนขายที่ดินดังกล่าวได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3925/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินจากการทุจริตและการสำคัญผิดในตัวบุคคล ทำให้การโอนเป็นโมฆะ
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนรับซื้อที่ดินจากผู้ที่ปลอมชื่อเป็นเจ้าของที่ดินซึ่งลักโฉนดที่ดินมาจากโจทก์ผู้เป็นเจ้าของที่แท้จริง แล้วจดทะเบียนจำนองที่ดินดังกล่าวกับจำเลยที่ 2 ดังนี้ จำเลยที่ 1 ไม่ได้ซื้อที่ดินพิพาทจากโจทก์หรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนโจทก์ นิติกรรมซื้อขายเกิดจากการทุจริตโดยโจทก์ไม่ได้รู้เห็นยินยอมด้วย เป็นการสำคัญผิดในตัวบุคคล อันเป็นสาระสำคัญแห่งนิติกรรม จึงเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 119 ถือเสมือนว่าไม่มีนิติกรรมการโอนเกิดขึ้น แม้การซื้อขายจะทำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และจำเลยที่ 1 ได้เสียค่าตอบแทนโดยสุจริต จำเลยที่ 1 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ โจทก์มีสิทธิขอให้เพิกถอนการโอนขายที่ดินดังกล่าวได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3892/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดกรรมเดียวจากการบุกรุกและขู่เข็ญเพื่อขับไล่ผู้อื่นออกจากเคหสถาน
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานบุกรุกและฐานทำให้ผู้อื่นเกิดความกลัวโดยการขู่เข็ญ คดีได้ความว่าจำเลยบุกรุกเข้าไปขับไล่ให้ผู้เสียหายออกไปเสียจากขนำของผู้เสียหาย ครั้นผู้เสียหายขัดขืน จำเลยจึงใช้ปืนที่ติดตัวไปยิงขู่จนผู้เสียหายตกใจกลัวออกไปจากขนำ การกระทำของจำเลยมีเจตนาขู่เข็ญเพื่อขับไล่ผู้เสียหายให้ออกไปจากขนำเป็นข้อสำคัญ จึงเป็นความผิดกรรมเดียว อันเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3892/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานบุกรุกและขู่เข็ญ: พิจารณาความผิดกรรมเดียวหรือหลายกรรม
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานบุกรุกและฐานทำให้ผู้อื่นเกิดความกลัวโดยการขู่เข็ญคดีได้ความว่าจำเลยบุกรุกเข้าไปขับไล่ให้ผู้เสียหายออกไปเสียจากขนำของผู้เสียหายครั้นผู้เสียหายขัดขืนจำเลยจึงใช้ปืนที่ติดตัวไปยิงขู่จนผู้เสียหายตกใจกลัวออกไปจากขนำการกระทำของจำเลยมีเจตนาขู่เข็ญเพื่อขับไล่ผู้เสียหายให้ออกไปจากขนำเป็นข้อสำคัญจึงเป็นความผิดกรรมเดียวอันเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท.