พบผลลัพธ์ทั้งหมด 370 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลไทยพิจารณาคดีบนรถไฟข้ามแดน และการบังคับใช้กฎหมายเก่า
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นลงโทษปรับจำเลยสถานเดียวเป็นเงิน 56,025 บาท คดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการให้ใช้สัญญาว่าด้วยการเดินรถไฟระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลันตัน ไทรบุรี เปอร์ลิศ และสหรัฐมลายู ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 เป็นพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วถือว่าเป็นที่ทราบทั่วกันและเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เอง มิใช่เป็นข้อเท็จจริงที่ต้องนำสืบโจทก์จึงไม่ต้องนำสืบถึงความมีอยู่ของประกาศกระแสพระบรมราชโองการดังกล่าว
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการให้ใช้สัญญาว่าด้วยการเดินรถไฟระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลันตัน ไทรบุรี เปอร์ลิศ และสหรัฐมลายู ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 เป็นพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วถือว่าเป็นที่ทราบทั่วกันและเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เอง มิใช่เป็นข้อเท็จจริงที่ต้องนำสืบโจทก์จึงไม่ต้องนำสืบถึงความมีอยู่ของประกาศกระแสพระบรมราชโองการดังกล่าว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของสัญญาเดินรถไฟระหว่างสยามกับรัฐมาเลเซีย และอำนาจศาลในการพิจารณาคดีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการให้ใช้สัญญาว่าด้วยการเดิน รถไฟระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลันตันไทรบุรีเปอร์ลิศและสหรัฐมลายู ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นกฎหมายเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วศาลรู้เอง.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 359/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำของออกนอกราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาต และขอบเขตการบังคับใช้กฎหมายในอดีต
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นลงโทษปรับจำเลยสถานเดียวเป็นเงิน 56,025 บาท คดีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการให้ใช้สัญญาว่าด้วยการเดินรถไฟระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลันตันไทรบุรีเปอร์ลิศ และสหรัฐมลายู ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 เป็นพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วถือว่าเป็นที่ทราบทั่วกันและเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เอง มิใช่เป็นข้อเท็จจริงที่ต้องนำสืบโจทก์จึงไม่ต้องนำสืบถึงความมีอยู่ของประกาศกระแสพระบรมราชโองการดังกล่าว.
ประกาศกระแสพระบรมราชโองการให้ใช้สัญญาว่าด้วยการเดินรถไฟระหว่างพระราชอาณาจักรสยามกับกลันตันไทรบุรีเปอร์ลิศ และสหรัฐมลายู ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 เป็นพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วถือว่าเป็นที่ทราบทั่วกันและเป็นข้อที่ศาลรับรู้ได้เอง มิใช่เป็นข้อเท็จจริงที่ต้องนำสืบโจทก์จึงไม่ต้องนำสืบถึงความมีอยู่ของประกาศกระแสพระบรมราชโองการดังกล่าว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 317/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องที่ถูกต้องเมื่อจำเลยย้ายภูมิลำเนา และการพิจารณาคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ที่ล่าช้า
ในการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลย เมื่อจำเลยยอมรับว่าได้ย้ายภูมิลำเนาตามที่โจทก์ระบุในฟ้องไปแล้ว การที่พนักงานเดินหมายรายงานว่า ไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยตามภูมิลำเนาที่ระบุในฟ้อง พบบริษัทจำเลยปิดประตูใส่กุญแจทิ้งไว้ สอบถามบุคคลข้างเคียงได้ความว่าบริษัทจำเลยย้ายไปแล้วประมาณ10 วัน ไม่ทราบไปอยู่ที่ไหน จึงถูกต้อง และเป็นกรณีที่ไม่สามารถส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยได้โดยวิธีธรรมดา ศาลชั้นต้นสั่งให้ประกาศหนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายธรรมดา จึงชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา79 แล้ว จำเลยยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ภายหลัง 15 วันนับแต่วันส่งคำบังคับโดยอ้างว่าเพิ่งทราบว่าถูกฟ้องคดีเมื่อธนาคารแจ้งให้ทราบว่าศาลชั้นต้นสั่งอายัดเงิน เป็นการอ้างว่าเหตุที่ยื่นคำขอล่าช้าเพราะมีพฤติการณ์พิเศษนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เมื่อจำเลยยื่นคำขอภายใน 15 วัน นับแต่พฤติการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่ปรากฏว่าโจทก์ยังไม่มีโอกาสคัดค้านคำร้องของจำเลย ศาลฎีกาย่อมให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลย แล้วมีคำสั่งตามรูปคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 317/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกที่ถูกต้องตามกฎหมายและการพิจารณาคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่เมื่อมีเหตุจำเป็น
ในการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลย เมื่อจำเลยยอมรับว่าได้ย้ายภูมิลำเนาตามที่โจทก์ระบุในฟ้องไปแล้วการที่พนักงานเดินหมายรายงานว่า ไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยตามภูมิลำเนาที่ระบุในฟ้อง พบบริษัทจำเลยปิดประตูใส่กุญแจทิ้งไว้ สอบถามบุคคลข้างเคียงได้ความว่าบริษัทจำเลยย้ายไปแล้วประมาณ 10 วัน ไม่ทราบไปอยู่ที่ไหนจึงถูกต้อง และเป็นกรณีที่ไม่สามารถส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยได้โดยวิธีธรรมดาศาลชั้นต้นสั่งให้ประกาศหนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายธรรมดา จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 79 แล้ว
จำเลยยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ภายหลัง 15 วันนับแต่วันส่งคำบังคับโดยอ้างว่าเพิ่งทราบว่าถูกฟ้องคดีเมื่อธนาคารแจ้งให้ทราบว่าศาลชั้นต้นสั่งอายัดเงิน เป็นการอ้างว่าเหตุที่ยื่นคำขอล่าช้าเพราะมีพฤติการณ์พิเศษนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เมื่อจำเลยยื่นคำขอภายใน 15 วัน นับแต่พฤติการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่ปรากฏว่าโจทก์ยังไม่มีโอกาสคัดค้านคำร้องของจำเลย ศาลฎีกาย่อมให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลย แล้วมีคำสั่งตามรูปคดี.
จำเลยยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ภายหลัง 15 วันนับแต่วันส่งคำบังคับโดยอ้างว่าเพิ่งทราบว่าถูกฟ้องคดีเมื่อธนาคารแจ้งให้ทราบว่าศาลชั้นต้นสั่งอายัดเงิน เป็นการอ้างว่าเหตุที่ยื่นคำขอล่าช้าเพราะมีพฤติการณ์พิเศษนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เมื่อจำเลยยื่นคำขอภายใน 15 วัน นับแต่พฤติการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่ปรากฏว่าโจทก์ยังไม่มีโอกาสคัดค้านคำร้องของจำเลย ศาลฎีกาย่อมให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลย แล้วมีคำสั่งตามรูปคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 317/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง การพิจารณาคดีใหม่ และเหตุพิเศษนอกเหนือความสามารถในการควบคุม
ในการส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลย เมื่อจำเลยยอมรับว่าได้ย้ายภูมิลำเนาตามที่โจทก์ระบุในฟ้องไปแล้ว การที่พนักงานเดินหมายรายงานว่า ไปส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้แก่จำเลยตามภูมิลำเนาที่ระบุในฟ้อง พบบริษัทจำเลยปิดประตูใส่กุญแจทิ้งไว้ สอบถามบุคคลข้างเคียงได้ความว่าบริษัทจำเลยย้ายไปแล้วประมาณ 10 วัน ไม่ทราบไปอยู่ที่ไหนจึงถูกต้อง และเป็นกรณีที่ไม่สามารถส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยได้โดยวิธีธรรมดาศาลชั้นต้นสั่งให้ประกาศหนังสือพิมพ์แทนการส่งหมายธรรมดา จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 79 แล้ว
จำเลยยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ภายหลัง 15 วันนับแต่วันส่งคำบังคับโดยอ้างว่าเพิ่งทราบว่าถูกฟ้องคดีเมื่อธนาคารแจ้งให้ทราบว่าศาลชั้นต้นสั่งอายัดเงิน เป็นการอ้างว่าเหตุที่ยื่นคำขอล่าช้าเพราะมีพฤติการณ์พิเศษนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เมื่อจำเลยยื่นคำขอภายใน 15 วัน นับแต่พฤติการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่ปรากฏว่าโจทก์ยังไม่มีโอกาสคัดค้านคำร้องของจำเลย ศาลฎีกาย่อมให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลย แล้วมีคำสั่งตามรูปคดี
จำเลยยื่นคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ภายหลัง 15 วันนับแต่วันส่งคำบังคับโดยอ้างว่าเพิ่งทราบว่าถูกฟ้องคดีเมื่อธนาคารแจ้งให้ทราบว่าศาลชั้นต้นสั่งอายัดเงิน เป็นการอ้างว่าเหตุที่ยื่นคำขอล่าช้าเพราะมีพฤติการณ์พิเศษนอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เมื่อจำเลยยื่นคำขอภายใน 15 วัน นับแต่พฤติการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แต่ปรากฏว่าโจทก์ยังไม่มีโอกาสคัดค้านคำร้องของจำเลย ศาลฎีกาย่อมให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องขอพิจารณาคดีใหม่ของจำเลย แล้วมีคำสั่งตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 302/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของผู้เช่าในการฟ้องขับไล่ผู้รอนสิทธิและเรียกผู้ให้เช่าเข้าร่วมดำเนินคดี
โจทก์เช่าตึกแถวจากวัด แต่ไม่สามารถเข้าครอบครองได้เพราะจำเลยไม่ยอมออกไป โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยผู้รอนสิทธิพร้อมกับขอให้ศาลเรียกวัดผู้ให้เช่าเข้าเป็นจำเลยร่วมหรือโจทก์ร่วมตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 549 ประกอบมาตรา 477 ได้.(ที่มา-เนติ)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีอาญาเกี่ยวกับไม้ของป่า ต้องระบุชัดเจนถึงการเคลื่อนย้ายไม้หลังจากได้รับอนุญาตหรือถึงด่านป่าไม้แล้ว จึงจะครบองค์ประกอบความผิด
การนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ต่อไป ตาม พ.ร.บ. ป่าไม้พ.ศ. 2484 มาตรา 38 ซึ่งต้องมีใบเบิกทางของพนักงานเจ้าหน้าที่กำกับไปด้วยตามมาตรา 39 นั้น จะต้องปรากฏว่าได้มีการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ต่อไปภายหลังที่นำไม้หรือของป่าที่ได้รับใบอนุญาตไปถึงที่อันระบุไว้ในใบอนุญาตแล้ว หรือนำไม้ที่ทำโดยไม่ต้องรับอนุญาตออกไปถึงด่านป่าไม้ด่านแรกแล้ว ดังนั้นเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องเพียงว่าจำเลยนำหวายเคลื่อนที่จากจังหวัดหนองคายมาถึงอำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม โดยผ่านเข้าเขตด่านป่าไม้ จังหวัดนครพนม โดยไม่ได้ระบุว่าเป็นการนำไม้เคลื่อนที่ต่อไปภายหลังที่ไปถึงที่อันระบุไว้ในใบอนุญาต หรือไปถึงด่านป่าไม้ด่านแรกตามมาตรา 38(1) หรือ (2) จึงขาดองค์ประกอบความผิดตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158(5) แม้จำเลยจะให้การรับสารภาพก็ไม่อาจลงโทษจำเลยได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีป่าไม้ต้องระบุชัดเจนถึงการเคลื่อนย้ายไม้หลังได้รับอนุญาตหรือถึงด่านป่าไม้แรก จึงจะเข้าข่ายความผิด
โจทก์บรรยายฟ้องแต่เพียงว่า จำเลยนำหมายเคลื่อนที่จากแห่งหนึ่งไปถึงอีกแห่งหนึ่งโดยผ่านเข้าเขตด่านป่าไม้ของอีกแห่งหนึ่งนั้น โดยไม่ได้ระบุว่าเป็นการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ต่อไปภายหลังที่ไปถึงที่อันระบุไว้ในใบอนุญาตหรือไปถึงด่านป่าไม้ด่านแรกตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484มาตรา 38(1) หรือ (2)อันจะทำให้เป็นความผิดตามมาตรา39,71 จึงเป็นฟ้องที่ขาดองค์ประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(5) แม้จำเลยจะให้การรับสารภาพก็ลงโทษจำเลยไม่ได้ (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่1420/2509).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฟ้องคดีป่าไม้ต้องระบุชัดเจนถึงการเคลื่อนย้ายไม้หรือของป่าหลังได้รับอนุญาต หรือถึงด่านป่าไม้ด่านแรก
โจทก์บรรยายฟ้องแต่เพียงว่า จำเลยนำหมายเคลื่อนที่จากแห่งหนึ่งไปถึงอีกแห่งหนึ่งโดยผ่านเข้าเขตด่านป่าไม้ของอีกแห่งหนึ่งนั้น โดยไม่ได้ระบุว่าเป็นการนำไม้หรือของป่าเคลื่อนที่ต่อไปภายหลังที่ไปถึงที่อันระบุไว้ในใบอนุญาตหรือไปถึงด่านป่าไม้ด่านแรกตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 38 (1) หรือ (2) อันจะทำให้เป็นความผิดตามมาตรา 39, 71 จึงเป็นฟ้องที่ขาดองค์ประกอบความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158 (5) แม้จำเลยจะให้การรับสารภาพก็ลงโทษจำเลยไม่ได้
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1420/2509)
(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1420/2509)