พบผลลัพธ์ทั้งหมด 767 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5310/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การครอบครองที่ดินสาธารณะและการทำให้เสียทรัพย์ แม้ที่ดินเป็นสาธารณะ แต่ผู้ครอบครองมีสิทธิเสียหายจากการถูกทำลายทรัพย์สินที่ปลูกไว้
แม้ที่ดินจะเป็นที่สาธารณะ แต่เมื่อโจทก์ร่วมเป็นผู้ครอบครองอยู่และได้ปลูกต้นมะม่วงไว้ การที่จำเลยตัดฟันต้นมะม่วงดังกล่าวโจทก์ร่วมย่อมได้รับความเสียหาย จึงมีอำนาจร้องทุกข์ให้ดำเนินคดีแก่จำเลยฐานทำให้เสียทรัพย์ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5256/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตอำนาจศาลแรงงาน & การพิพากษาแบบมีเงื่อนไข & การอุทธรณ์
จำเลยให้การว่าโจทก์รับเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาทจากพนักงานของจำเลยแล้วทดเงินไว้เป็นเวลา 7 วัน เป็นการทุจริตต่อหน้าที่และฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยอย่างร้ายแรงศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์ทุจริตเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาทหรือไม่ และโจทก์มีสิทธิได้รับเงินตามฟ้องหรือไม่ ดังนี้ ปัญหาว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงหรือไม่ จึงมิได้เป็นข้อพิพาทในคดี เมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยว่าข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าโจทก์ทุจริตเงินค่าระวางดังกล่าว อุทธรณ์ของจำเลยที่ว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบเกี่ยวกับการทำงานเป็นกรณีร้ายแรงจึงมิใช่เป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225ประกอบด้วย มาตรา 31แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ.2522
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 49 นั้น ศาลแรงงานต้องพิจารณาว่าลูกจ้างกับนายจ้างอาจทำงานร่วมกันต่อไปได้หรือไม่เป็นประการแรกหากไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปจึงจะพิจารณากำหนดค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้ลูกจ้างเป็นประการที่สองศาลแรงงานพึงพิพากษาเพียงประการเดียว การที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หากไม่สามารถรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานได้ก็ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้าง อันเป็นการพิพากษาสองประการโดยมีเงื่อนไขนั้นย่อมเป็นการไม่ชอบ และปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แต่การพิจารณาถึงเหตุสองประการดังกล่าวเป็นดุลพินิจของศาลแรงงาน จึงเป็นปัญหาข้อเท็จจริงศาลฎีกาต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลแรงงานวินิจฉัย.
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 49 นั้น ศาลแรงงานต้องพิจารณาว่าลูกจ้างกับนายจ้างอาจทำงานร่วมกันต่อไปได้หรือไม่เป็นประการแรกหากไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปจึงจะพิจารณากำหนดค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้ลูกจ้างเป็นประการที่สองศาลแรงงานพึงพิพากษาเพียงประการเดียว การที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หากไม่สามารถรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานได้ก็ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้าง อันเป็นการพิพากษาสองประการโดยมีเงื่อนไขนั้นย่อมเป็นการไม่ชอบ และปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แต่การพิจารณาถึงเหตุสองประการดังกล่าวเป็นดุลพินิจของศาลแรงงาน จึงเป็นปัญหาข้อเท็จจริงศาลฎีกาต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลแรงงานวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5256/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการอุทธรณ์คดีแรงงาน และคำพิพากษาที่ไม่ถูกต้องตาม พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงาน
จำเลยให้การว่าโจทก์รับเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาทจากพนักงานของจำเลยแล้วทด เงินไว้เป็นเวลา 7 วัน เป็นการทุจริตต่อหน้าที่และฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยอย่างร้ายแรงศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นข้อพิพาทว่า โจทก์ทุจริตเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาทหรือไม่ และโจทก์มีสิทธิได้รับเงินตามฟ้องหรือไม่ดังนี้ ปัญหาว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงหรือไม่ จึงมิได้เป็นข้อพิพาทในคดี เมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยว่าข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าโจทก์ทุจริตเงินค่าระวางดังกล่าวอุทธรณ์ของจำเลยที่ว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบเกี่ยวกับการทำงานเป็นกรณีร้ายแรงจึงมิใช่เป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ต้องห้ามอุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 225 ประกอบด้วยมาตรา 31 แห่ง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงานพ.ศ. 2522 มาตรา 49 นั้น ศาลแรงงานต้องพิจารณาว่าลูกจ้างกับนายจ้างอาจทำงานร่วมกันต่อไปได้หรือไม่เป็นประการแรก หากไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปจึงจะพิจารณากำหนดค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้ลูกจ้างเป็นประการที่สอง ศาลแรงงานพึงพิพากษาเพียงประการเดียว การที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หากไม่สามารถรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานได้ก็ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้างอันเป็นการพิพากษาสองประการโดยมีเงื่อนไขนั้น ย่อมเป็นการไม่ชอบ และปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แต่การพิจารณาถึงเหตุสองประการดังกล่าวเป็นดุลพินิจ ของศาลแรงงาน จึงเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ศาลฎีกาต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลแรงงานวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5256/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การอุทธรณ์ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และคำพิพากษาที่ไม่เป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงาน
จำเลยให้การว่าโจทก์รับเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาท จากพนักงานของจำเลยแล้วทดเงินไว้เป็นเวลา 7 วัน เป็นการทุจริตต่อหน้าที่และฝ่าฝืนระเบียบของบริษัทจำเลยอย่างร้ายแรงศาลแรงงานกลางกำหนดประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์ทุจริตเงินค่าระวางของจำนวน 600 บาท หรือไม่ และโจทก์มีสิทธิได้รับเงินตามฟ้องหรือไม่ ดังนี้ ปัญหาว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นกรณีร้ายแรงหรือไม่ จึงมิได้เป็นข้อพิพาทในคดี เมื่อศาลแรงงานกลางวินิจฉัยว่าข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าโจทก์ทุจริตเงินค่าระวางดังกล่าว อุทธรณ์ของจำเลยที่ว่าการกระทำของโจทก์เป็นการฝ่าฝืนระเบียบเกี่ยวกับการทำงานเป็นกรณีร้ายแรงจึงมิใช่เป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว ต้องห้ามอุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225ประกอบด้วย มาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 นั้น ศาลแรงงานต้องพิจารณาว่าลูกจ้างกับนายจ้างอาจทำงานร่วมกันต่อไปได้หรือไม่เป็นประการแรกหากไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปจึงจะพิจารณากำหนดค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้ลูกจ้างเป็นประการที่สองศาลแรงงานพึงพิพากษาเพียงประการเดียว การที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หากไม่สามารถรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานได้ก็ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้าง อันเป็นการพิพากษาสองประการโดยมีเงื่อนไขนั้นย่อมเป็นการไม่ชอบ และปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แต่การพิจารณาถึงเหตุสองประการดังกล่าวเป็นดุลพินิจของศาลแรงงาน จึงเป็นปัญหาข้อเท็จจริงศาลฎีกาต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลแรงงานวินิจฉัย
ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49 นั้น ศาลแรงงานต้องพิจารณาว่าลูกจ้างกับนายจ้างอาจทำงานร่วมกันต่อไปได้หรือไม่เป็นประการแรกหากไม่อาจทำงานร่วมกันต่อไปจึงจะพิจารณากำหนดค่าเสียหายให้นายจ้างชดใช้ให้ลูกจ้างเป็นประการที่สองศาลแรงงานพึงพิพากษาเพียงประการเดียว การที่ศาลแรงงานพิพากษาให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หากไม่สามารถรับลูกจ้างกลับเข้าทำงานได้ก็ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ลูกจ้าง อันเป็นการพิพากษาสองประการโดยมีเงื่อนไขนั้นย่อมเป็นการไม่ชอบ และปัญหาข้อนี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ แต่การพิจารณาถึงเหตุสองประการดังกล่าวเป็นดุลพินิจของศาลแรงงาน จึงเป็นปัญหาข้อเท็จจริงศาลฎีกาต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลแรงงานวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5154/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิหักกลบลบหนี้ค่าจ้าง: หนี้จากการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างไม่ใช่ 'หนี้อื่น' ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
คำว่าหนี้อื่นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานข้อ 30 หมายถึงหนี้อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้าง เช่นหนี้เงินกู้จากนายจ้าง เป็นต้น กรณีหนี้ที่ลูกจ้างต้องรับผิดชดใช้แก่นายจ้างเนื่องจากการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างถือไม่ได้ว่าเป็นหนี้อื่นที่นายจ้างจะนำมาหักจากค่าจ้างมิได้
ลูกจ้างฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่ายจากนายจ้าง เมื่อปรากฏว่าลูกจ้างลาออกจากงานโดยไม่ส่งสมุดตัวอย่างสินค้าคืนแก่นายจ้างอันเป็นการผิดสัญญาและต้องรับผิดชดใช้เป็นเงินจำนวนเท่ากับราคาของสมุดตัวอย่างดังกล่าวเช่นนี้นายจ้างย่อมมีสิทธิขอหักกลบลบหนี้กับลูกจ้างได้
ลูกจ้างฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่ายจากนายจ้าง เมื่อปรากฏว่าลูกจ้างลาออกจากงานโดยไม่ส่งสมุดตัวอย่างสินค้าคืนแก่นายจ้างอันเป็นการผิดสัญญาและต้องรับผิดชดใช้เป็นเงินจำนวนเท่ากับราคาของสมุดตัวอย่างดังกล่าวเช่นนี้นายจ้างย่อมมีสิทธิขอหักกลบลบหนี้กับลูกจ้างได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5154/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธินายจ้างหักกลบลบหนี้ค่าเสียหายจากค่าจ้างลูกจ้าง กรณีลูกจ้างไม่คืนทรัพย์สินของนายจ้าง
คำว่าหนี้อื่นตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การคุ้มครองแรงงานข้อ 30 หมายถึงหนี้อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้าง เช่นหนี้เงินกู้จากนายจ้าง เป็นต้น กรณีหนี้ที่ลูกจ้างต้องรับผิดชดใช้แก่นายจ้างเนื่องจากการปฏิบัติงานตามสัญญาจ้างถือไม่ได้ว่าเป็นหนี้อื่นที่นายจ้างจะนำมาหักจากค่าจ้างมิได้
ลูกจ้างฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่ายจากนายจ้าง เมื่อปรากฏว่าลูกจ้างลาออกจากงานโดยไม่ส่งสมุดตัวอย่างสินค้าคืนแก่นายจ้างอันเป็นการผิดสัญญาและต้องรับผิดชดใช้เป็นเงินจำนวนเท่ากับราคาของสมุดตัวอย่างดังกล่าวเช่นนี้นายจ้างย่อมมีสิทธิขอหักกลบลบหนี้กับลูกจ้างได้
ลูกจ้างฟ้องเรียกค่าจ้างค้างจ่ายจากนายจ้าง เมื่อปรากฏว่าลูกจ้างลาออกจากงานโดยไม่ส่งสมุดตัวอย่างสินค้าคืนแก่นายจ้างอันเป็นการผิดสัญญาและต้องรับผิดชดใช้เป็นเงินจำนวนเท่ากับราคาของสมุดตัวอย่างดังกล่าวเช่นนี้นายจ้างย่อมมีสิทธิขอหักกลบลบหนี้กับลูกจ้างได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5120/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่า: การพิจารณาจากบาดแผลและพฤติการณ์ ผู้ต้องหาไม่ได้มีเจตนาฆ่า
จำเลยใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่จำเลยเมาสุราโดยไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อน มีดที่ใช้แทงไม่มีด้ามและมีสนิมติดอยู่ด้วยจำเลยแทงผู้เสียหายครั้งแรกที่ใต้ราวนมซ้าย 1 ครั้ง บาดแผลขนาด 1.2+0.3 เซนติเมตรลึก 0.5 เซนติเมตรติดกระดูกซี่โครง ไม่ได้ความว่าแทงโดยแรงหรือไม่ผู้เสียหายล้มลงแล้วจำเลยยังแทงผู้เสียหายที่โคนขาอีก 2ครั้ง แผลลึก 3 และ 2.5 เซนติเมตรตามลำดับ สภาพบาดแผลมีขนาดใกล้เคียงกับบาดแผลที่ใต้ราวนมซ้ายแพทย์มีความเห็นว่าใช้เวลารักษาประมาณ 10 วันหาย พิจารณาถึงมีดซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้แทงให้ตายและการที่จำเลยมีโอกาสเลือกแทงในส่วนสำคัญได้หลังจากผู้เสียหายล้มลงแล้วแต่กลับแทงไปที่บริเวณโคนขาซึ่งไม่เกิดอันตรายร้ายแรง ทำให้ฟังไม่ถนัดว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5120/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการแทงทำร้าย: พิจารณาจากบาดแผล, อาวุธ, และพฤติการณ์
จำเลยใช้มีดแทงผู้เสียหายในขณะที่จำเลยเมาสุราโดยไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกันมาก่อน มีดที่ใช้แทงไม่มีด้ามและมีสนิมติดอยู่ด้วยจำเลยแทงผู้เสียหายครั้งแรกที่ใต้ราวนมซ้าย 1 ครั้ง บาดแผลขนาด 1.2 * 0.3 เซนติเมตรลึก 0.5 เซนติเมตรติดกระดูกซี่โครง ไม่ได้ความว่าแทงโดยแรงหรือไม่ผู้เสียหายล้มลงแล้วจำเลยยังแทงผู้เสียหายที่โคนขาอีก 2 ครั้งแผลลึก 3 และ 2.5 เซนติเมตรตามลำดับ สภาพบาดแผลมีขนาดใกล้เคียงกับบาดแผลที่ใต้ราวนมซ้ายแพทย์มีความเห็นว่าใช้เวลารักษาประมาณ 10 วันหาย พิจารณาถึงมีดซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้แทงให้ตายและการที่จำเลยมีโอกาสเลือกแทงในส่วนสำคัญได้หลังจากผู้เสียหายล้มลงแล้วแต่กลับแทงไปที่บริเวณโคนขาซึ่งไม่เกิดอันตรายร้ายแรง ทำให้ฟังไม่ถนัดว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 เท่านั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4696/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบิกความเท็จในคดีแพ่งเพื่อสนับสนุนสิทธิครอบครองที่ดิน จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177
จำเลยที่ 1 ฟ้องโจทก์เป็นคดีแพ่งเรื่องขับไล่ และเรียกค่าเสียหายซึ่งมีประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์หรือจำเลยมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท ในคดีดังกล่าวจำเลยที่ 1 เบิกความเป็นพยานว่าจำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทจาก ล. สามี พ. ซึ่งเป็นมารดาโจทก์โดยไม่ได้ทำสัญญาซื้อขายกัน จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ต่างก็เบิกความเป็นพยานว่าเห็น ล. ขายที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นความเท็จและเป็นข้อสำคัญในคดีจำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4696/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบิกความเท็จในคดีแพ่งเพื่อประโยชน์ตนเอง จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177
จำเลยที่ 1 ฟ้องโจทก์เป็นคดีแพ่งเรื่องขับไล่ และเรียกค่าเสียหายซึ่งมีประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์หรือจำเลยมีสิทธิครอบครองที่ดินพิพาท ในคดีดังกล่าวจำเลยที่ 1 เบิกความเป็นพยานว่าจำเลยที่ 1 ซื้อที่ดินพิพาทจาก ล. สามี พ. ซึ่งเป็นมารดาโจทก์โดยไม่ได้ทำสัญญาซื้อขายกัน จำเลยที่ 2 ถึงที่ 4 ต่างก็เบิกความเป็นพยานว่าเห็น ล. ขายที่ดินพิพาทให้จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นความเท็จและเป็นข้อสำคัญในคดีจำเลยจึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 177